Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนนท์ กองกมล-
dc.contributor.authorรุจจิรัตน์ พงศ์ภัทรโภคิน-
dc.date.accessioned2023-10-16T08:27:21Z-
dc.date.available2023-10-16T08:27:21Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18239-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สุขภาพและการวิจัยทางคลินิก), 2566en_US
dc.description.abstractIntensive care is a manual patient-handling activity that requires strong pulling and pushing, lifting, moving, or supporting the patient are the leading causes of musculoskeletal disease, MSDs. Therefore, researchers were interested in studying the ergonomic risk assessment of patients transferred by adult intensive care unit nurses. This study aims to estimate MSDs prevalence, work stress and stress levels, and the rate of MSDs' sick leave. The study collected data from nursing volunteers in four adult intensive care units: Surgical Intensive Care Units (SICU), Medical Intensive Care Unit (MICU), Cardiac Care Unit (CCU), and Cardiovascular and Thoracic Intensive Care Unit (CVT ICU) Songklanagarind Hospital. The data collection period is from March to June 2022. The data collection methods are to take a video when the nurse moves the patient with physical strength, answer the questionnaire, interview the head of the ward, explore mobility help devices, and conduct a workplace environment inspection. Use the tools recommended by ISO/TR 12296 for Ergonomic manual handling of healthcare sector personnel to assess ergonomic risks that are Patient Transfer Assessment Instrument (PTAI), Movement and Assistance of Hospital Patients (MAPO), Rapid Intestinal Body Assessment (REBA) and Tilthermometer. The study found that most volunteers were women (94.7 percent). Most are classified as active collectives, accounting for 42.5 percent. The average age of each ward was between 30.5 and 33.2 years old. The average working age was 6.7-9.7 years, with most working less than two years (29.2 percent). The incidence rate of MSDs was 84. percent, and the first four most areas that volunteers had pain rates: Shoulder, neck, lower back, and upper back (left/right) 51.3/52.2, 44.2/45.1, 38.1/37.2, and 37.2/36.3 percent, respectively. Assessing the risks of lifting and moving patients with the tools, the PTAI workload index in all adult intensive care units was moderate for all lifting activities, and the MAPO index was at a slight risk in all wards. Tillthermometer evaluation found that no ward had a physical workload exceeding 100%. However, there is a recommendation for using the materials such as sliding sheets move the patients. Furthermore, the last, the whole-body work posture assessment with REBA found that the high-risk patient transfer activities in all wards were lateral patient transfer activities. (Between the bed and the cot/bed) with an average score of 7.8-8.6 points. In conclusion, the incidence of MSDs in this study was not higher than that of previous studies. Moreover, none of the volunteers were classified as high strain isolated, which may have adverse effects on personnel on various sides and affect the occurrence of MSDs. In addition, the assessment of the risk of ergonomics in lifting patients with physical force was mostly moderate. However, although the risk was not found to be very high, improvements should be made based on the recommendations made from the assessments to ensure worker safety and reduce the risk of MSDs, which may contribute to worker well-being more or less.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์en_US
dc.subjectยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยแรงกายen_US
dc.subjectพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตen_US
dc.subjectองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน 12296:2012en_US
dc.subjectความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อen_US
dc.titleการศึกษาความชุกของความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อและการประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยแรงกายของพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์en_US
dc.title.alternativePrevalence of Musculoskeletal Disorders and Ergonomics Risk Assessment for Manual Patient Handling Among Critical Care Nurses of Songklanagarind Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Medicine (Community Medicine)-
dc.contributor.departmentคณะแพทยศาสตร์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน-
dc.description.abstract-thการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตเป็นงานที่มีกิจกรรมการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยแรงกาย (manual patient handling) ที่ต้องใช้แรงในการดึง ผลัก ยก ย่อ เคลื่อนย้าย หรือพยุงผู้ป่วย ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ (musculoskeletal disorders, MSDs) ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในกลุ่มบุคลากรพยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่อย่างครอบคลุม รวมทั้งศึกษาประมาณค่าความชุกของ MSDs ระดับความเครียดและความเครียดจากการทำงาน และอัตราการลาป่วยเนื่องจาก MSDs โครงการวิจัยนี้เก็บข้อมูลจากอาสาสมัครพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่ 4 หอ ได้แก่ หออภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม หออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม หออภิบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ และหอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมหัวใจและทรวงอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ระยะเวลาการเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 โดยข้อมูลจะถูกเก็บจากหลายวิธี ได้แก่ ถ่ายวิดีโอขณะพยาบาลยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยแรงกาย ตอบแบบสอบถาม สัมภาษณ์หัวหน้าหอผู้ป่วย สำรวจอุปกรณ์ช่วยเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และตรวจสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ทำงาน และนำข้อมูลที่ได้ไปประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ด้วยเครื่องมือที่ได้รับการแนะนำจาก ISO/TR 12296 Ergonomics-Manual handling of people in the healthcare sector ได้แก่ Patient Transfer Assessment Instrument (PTAI), Movement and Assistance of Hospital Patients (MAPO), Rapid Entire Body Assessment (REBA), และ Tilthermometer ผลการศึกษาพบว่าอาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 94.7) อายุเฉลี่ยในแต่ละหอผู้ป่วยอยู่ในช่วง 30.5-33.2 ปี มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาทำงานอยู่ในช่วง 6.7-9.7 ปี โดยส่วนใหญ่มีระยะเวลาการทำงานอยู่ในกลุ่มน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 ปี (ร้อยละ 29.2) ส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทงานกระตุ้นที่มีแรงสนับสนุนทางสังคม (active collective) คิดเป็นร้อยละ 42.5 มีอัตราการเกิด MSDs คิดเป็นร้อยละ 84 โดยอัตราการเกิดอาการปวดตามส่วนต่างๆ ของร่างกายในอาสาสมัครที่พบบ่อยที่สุด 4 อันดับแรก ได้แก่ ไหล่ คอ หลังส่วนล่าง และหลังส่วนบน คิดเป็นร้อยละ (ซ้าย/ขวา) 51.3/52.2, 44.2/45.1, 38.1/37.2 และ 37.2/36.3 การประเมินความเสี่ยงในการยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยเครื่องมือต่างๆ พบว่าทุกหอผู้ป่วยวิกฤตผู้ใหญ่มีค่าดัชนีภาระงาน PTAI อยู่ในระดับปานกลางในทุกกิจกรรมการยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ค่าดัชนี MAPO อยู่ในความเสี่ยงระดับเล็กน้อยทุกหอผู้ป่วย การประเมิน Tillthermometer พบว่าไม่มีหอผู้ป่วยใดภาระงานทางกายภาพเกินร้อยละ 100แต่มีข้อเสนอแนะกิจกรรมการปรับเปลี่ยนตำแหน่งหรือท่าทางของผู้ป่วยบนเตียงเท่านั้นที่ไม่มีวัสดุช่วยเลื่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เช่น ผ้าลื่น (sliding sheet) เป็นต้น และสุดท้ายการประเมินท่าทางการทำงานทั่วทั้งร่ายกายด้วย REBA พบว่ากิจกรรมการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงระดับสูงในทุกหอผู้ป่วย ได้แก่ กิจกรรมการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทางด้านข้าง (ระหว่างเตียงและเปล/เตียง) มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในช่วง 7.8-8.6 คะแนน สรุปโครงการวิจัยนี้มีอัตราการเกิด MSDs ไม่ได้มากเกินกว่าการศึกษาที่ผ่านมา และไม่พบอาสาสมัครจัดอยู่ในกลุ่มงานเครียดสูงและไม่มีแรงสนับสนุนทางสังคม (high strain isolated) ซึ่งอาจส่งผลเชิงลบต่อบุคลากรในด้านต่างๆ รวมถึงส่งผลต่อการเกิด MSDs ด้วย อีกทั้งการประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในการยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยแรงกายอยู่ในระดับปานกลางเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม แม้พบความเสี่ยงไม่ได้สูงมาก แต่ควรมีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อแนะนำที่ได้จากการทำแบบประเมินต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยในการทำงานของบุคลกรและลดความเสี่ยงต่อการเกิด MSDs และอาจช่วยให้มีความเป็นอยู่ที่ดีในการทำงานของบุคลาการมากขึ้นไม่มากก็น้อยen_US
Appears in Collections:367 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310320003.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons