Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18234
Title: Factors influencing travel risk perception and intention to travel to Thailand of Chinese residents during the COVID-19 pandemic
Other Titles: ปัจจยัที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความเสี่ยงในการเดินทางและความตั้งใจที่จะการเดินทางมายังประเทศไทยของชาวจีนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
Authors: Pornpisanu Promsivapallop
Junhao Wang
Faculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)
คณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว
Keywords: Risk perception;travel intention;generation;tourist typology group;vulnerability;subjective norm
Issue Date: 2022
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: The main objective of the research is to investigate factors that influence travel risk perception and intention to travel to Thailand for Chinese residents during the COVID-19 pandemic and compare travel risk perception and travel intention among different generations and tourist typology groups of Chinese residents. This is because there is a lack of studies that examine this issue especially for context different generations and tourism typology groups of Chinese residents. Moreover, there is controversy as to whether the perception of risk differs by age during pandemic. The factors under investigation include novelty and familiarity, vulnerability, and subjective norms. This research uses a quantitative research approach to collect data. Using 985 validated questionnaires completed by Chinese respondents, it was found that vulnerability becomes an essential factor influencing people's risk perceptions during the pandemic, while risk perceptions and subjective norms are factors influencing travel intentions. Differences in risk perceptions and travel intentions across generations and travel typology groups are partially confirmed in this study as well. The significance of this study is to refine the risk perceptions and travel intentions in the context of the epidemic to better help the tourism industry understand the factors influencing Chinese residents' travel to Thailand in the context of the pandemic. It is also intended to complement the research on generations and tourism typologies. Furthermore, the study could improve the understanding of Chinese residents from multiple perspectives
Abstract(Thai): การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความเสี่ยงในการเดินทางและความตั้งใจที่จะเดินทางมาประเทศไทยของชาวจีนในช่วงการระบาดของโควิด-19 และเปรียบเทียบการรับรู้ความเสี่ยงในการเดินทางและความตั้งใจในการเดินทางของชาวจีนในช่วง วัยและกลุ่มต่างๆ เนื่องจากยังขาดงานวิจัยที่ตรวจสอบประเด็นที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังมีข้อโต้แย้ง ว่าการรับรู้ความเสี่ยงแตกต่างกันตามอายุหรือประเภทของนักท่องเที่ยวหรือไม่ในช่วงเวลาของการเกิดโรคระบาด ปัจจัยที่ศึกษาในงานนี้ประกอบด้วย ความแปลกใหม่และการแสวงหาความคุ้นเคย ความเปราะบาง และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง บทความนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากการใช้ แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบแล้วจํานวน 985 ตัวอย่างจากผู้ตอบแบบสอบถามชาวจีน ผล การศึกษาพบว่าความเปราะบางเป็นปัจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความเสี่ยงของผู้คนในช่วงที่มีการระบาดของโรคติดต่อ ในขณะที่การรับรู้ความเสี่ยงและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความตั้งใจในการเดินทาง ความแตกต่างในการรับรู้ความเสี่ยงและความตั้งใจในการเดินทางระหว่างช่วงวัยและกลุ่มประเภทการเดินทางได้รับการยืนยันบางส่วนในการศึกษาความสําคัญของการศึกษานี้คือการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการรับรู้ความเสี่ยงและความตั้งใจในการเดินทางในบริบทของการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เพื่อช่วยให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเข้าใจปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางของชาวจีนมายังประเทศไทยในระหว่างการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ นอกจากนี้ผลการศึกษายังช่วยให้เข้าใจการวิจัยเกี่ยวกับช่วงวัยและรูปแบบการเที่ยว
Description: Master of Business Administration (Hospitality and Tourism Management), 2022
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18234
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6330121012.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons