Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18180
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย | - |
dc.contributor.author | สุมาลี หอศิริธรรม | - |
dc.contributor.author | สุระพร ปุ้ยเจริญ | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-13T07:10:53Z | - |
dc.date.available | 2023-06-13T07:10:53Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18180 | - |
dc.identifier.uri | https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/205974 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this quasi-experimental study were to determine the effects of eye care program on the levels of eye care by primary school teachers and students in Songkhla Province. The subjects of the study were 200 primary school teachers and students. The subject size was calculated with Power Analysis. The instruments of the study were eye-screening equipment, vision recording books, a computer assisted instruction (CAI) progtam on eye care with an average efficiency between 80/80, and an eye care ability test. The content of the eye care lessons was tested to determine content validity of the test by three experts consisting of an ophthalmologist and two family practical nurses ; the Kuder-Richardson coefficient obtained was 0.81. The data were analyzed in frequency, percentage, mean, standard deviation, paired t-test, and independent t-test. The results were as follows:The eye examination was carried out on the primary school students who were the subjects of the test by their teachers who had learned about eye care from the CAI lessons using a Snellen's chart. It was found that 94.0 percent of the students in the experimental and the control groups had normal vision and 6.0 percent of the subjects had a vision problem.When comparing the means, standard deviation, the score of eye care ability of the teachers and students in the experimental group and the control group, it was found that the average score for the level of eye care ability of the experimental group was higher than that of the control group. When tested statistically, it was found that there was a statistically significant difference at 0.05 between the average score of eye care ability of the teachers and students in the experimental group and the control group. The teachers had potential in helping children in terms of eye care by testing their students' vision to find out whether their vision is normal or not before it is too late. Therefore, teachers can do the job that is usually done by a school health team at a low cost which is another good access to health service in school. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | ดวงตา | en_US |
dc.subject | นักเรียนประถมศึกษา | en_US |
dc.subject | ครู ไทย (ภาคใต้) สงขลา | en_US |
dc.title | ผลของการใช้บทเรียนโปรแกรมถนอมดวงตาต่อระดับการดูแลสุขภาพตา ของครูและนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดสงขลา | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้บทเรียนโปรแกรมถนอมดวงตาต่อระดับการดูแลสุขภาพตาของครูและนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนจังหวัดสงขลา ตัวอย่าง คือครูและนักเรียนที่อยู่ในโรงเรียมประถมศึกษา จำนวนทั้งหมด 200 คน คำนวณ ขนาดตัวอย่างด้วยวิธีการ Power Amalysis เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย อุปกรณ์สำหรับคัดกรองสายตา สมุดบันทึกสายตา บทเรียนโปรแกรมถนอมดวงตาในรูปของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีประสิทธิภาพ เฉลี่ยระหว่าง 81/83.33 และแบบทดสอบความสามารถดูแลสุขภาพตา หาคุณภาพของแบบทดสอบด้วยการตรวจสอบเนื้อหาของการดูแลสุขภาพตาจากจักษุแพทย์และพยาบาลเวชปฏิบัติตาจำนวน 3 คน ได้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงคูเดอร์ริชาดสันต์เท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ paire t-test และ independent t-test สรุปผลการวิจัยดังนี้ ผลการตรวจวัดสายตานักเรียนประถมศึกษาที่เป็นตัวอย่าง โดยครูประจำชั้นที่ผ่านโปรแกรมการถนอมดวงตาด้วยการวัดความสามารถในการเห็นโดยใช้แผ่น Snellen's chart พบว่าในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีนักเรียนสายตาปกติร้อยละ 94.0 นักเรียนที่มีระดับสายตาผิดปกติ มีร้อยละ 6.0 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนการดูแลสุขภาพตาของครูและนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม พบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับความสามารถในการดูแลสุขภาพตาตนเองของนักเรียนและครูในกลุ่มทดลองมีสูงกว่ากลุ่มควบคุม เมื่อทดสอบทางสถิติพบว่า คะแนนการดูแลสุขภาพตาของครูและนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ครูมีศักยภาพในการช่วยถนอมดวงตาเด็กด้วยการวัดความสามารถในการเห็นของนักเรียนว่าปกติหรือไม่ปกติก่อนที่เด็กจะพบปัญหาการมองเห็นที่จะสายเกินเหตุ ถือได้ว่าครูคือกำลังทดแทนเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพในโรงเรียนที่ใช้ต้นทุนต่ำอันเป็นการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพตาของเยาวชนในสถานศึกษาได้ดีทางหนึ่ง | en_US |
Appears in Collections: | 641 Research |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.