กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18174
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันธ์ในการกลับมาทำกายบริหารซ้ำ เพื่อป้องกันอาการโรคออฟฟิศซินโดรมด้วยการใช้เทคโนโลยีจริงเหมือน MST-VR
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Factor Influencing on Exercise Reengagement of Office Syndrome using MST-VR
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: น้ำทิพย์ ตระกูลเมฆี
พัชณี ลัดดาวงศ์
Faculty of Engineering (Management of Information Technology)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ: การรักษาด้วยการออกกำลังกาย สงขลา;โรคเกิดจากอาชีพ สงขลา;ความจริงเสมือน แง่อนามัย
วันที่เผยแพร่: 2020
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: The objective of this research is to study the factor influencing on exercise reengagement of Office Symptom by the Musculoskeletal Syndrome Therapy using Virtual Reality (MST-VR). The users can continue to use applications and virtual reality technology for exercises in order to prevent and reduce initial office syndrome symptoms and to analyze the influence of factors that stimulate repeated exercise from doing exercises with MST-VR. The data collection used survey questionnaire from 395 people who were between 20-60 years old in Songkhla. This study employed SmartPLS 2.0 to analyze the factor influencing. The results shown that the perceived usability and focus attention were the factor of exercise reengagement using MST-VR for preventing office symptom. In addition, aesthetics and novelty also positive impact on the focus attention at the significant level of 0.05.
Abstract(Thai): งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมา ทํากายบริหารซ้ํา เมื่อใช้เทคโนโลยีจริงเสมือน MST-VR มาช่วยในการทํากายบริหาร โดยการศึกษานี้ ได้ออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชัน MST-VR (Musculoskeletal Symptoms Therapy using Virtual Reality) โดยที่ผู้ใช้งานสามารถใช้แอปพลิเคชันและเทคโนโลยีความจริงเสมือนในการทํากาย บริหารได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้ป้องกัน และลดอาการออฟฟิศซินโดรมเบื้องต้นได้ และเพื่อวิเคราะห์ อิทธิพลของปัจจัยที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการบริหารร่างกายซ้ํา จากการทํากายบริหารด้วย MST-VR โดย ผู้วิจัยได้มีการจัดเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างของประชากรในวัยทํางานระหว่างช่วงอายุ 20-60 ในจังหวัดสงขลา จํานวน 395 คน การวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยต่าง ๆ ด้วยโปรแกรม SmartPLS 2.0 ซึ่งผลจากการศีกษาแสดงให้เห็นว่า การรับรู้การใช้งาน (Perceived Usability) และการมุ่งเน้น ความสนใจ (Focus Attention) เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลับมาออกกําลังกายซ้ํา (Exercise Reengagement) นอกจากนี้สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) และความแปลก ใหม่ (Novelty) ก็พบว่า มีผลกระทบทางบวกอย่างมีนัยสําคัญกับปัจจัยการมุ่งเน้นความสนใจ ที่ 0.05
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18174
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:229 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
448155.pdf2.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons