Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฆายนีย์ ช. บุญพันธ์-
dc.contributor.authorนูรีซา มาหิเละ-
dc.date.accessioned2023-04-27T08:54:39Z-
dc.date.available2023-04-27T08:54:39Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18119-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to determine the efficiency levels of land and building tax collection of local administrative organizations in Narathiwat Province, to compare the levels of efficiency of land and building tax collection of local administrative organizations classified according to fundamental factors, and to find out factors affecting the efficiency of land and building tax collection of local administrative organizations in Narathiwat Province. The sample group of this quantitative research was 72 local administrative organizations in Narathiwat Province. The research instrument was a questionnaire. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, Pearson’s correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research found that the efficiency of land and building tax collection of local administrative organizations in Narathiwat Province was at a high level. The comparison of the efficiency levels of land and building tax collection of local administrative organizations according to fundamental factors revealed that local administrative organizations with different types, budgets, and number of officers working on land and building tax collection were different in the efficiency of land and building tax collection but with no statistical significance, at the level of 0.05. The study results also revealed that the communication channels with the public and the readiness of local administrative organizations affected the efficiency of land and building tax collection at a statistical significance level of 0.05. Therefore, the methods to increase the efficiency of land and building tax collection are to use more communication channels with the public, especially tax payments online, and to promote the development of officers’ skills in using the tax map and property registration programs (LTAX GIS) for the readiness in land and building tax collection of local administrative organizations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีen_US
dc.subjectภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างen_US
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาสen_US
dc.title.alternativeFactors Affecting the Efficiency of Land and Building Tax Collection of Local Administrative Organizations in Narathiwat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาส เพื่อเปรียบเทียบระดับประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาส จำแนกตามข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาส เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาส จำนวน 72 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรแปรวนทางเดียว ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยของพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ระดับประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาส อยู่ในระดับมาก ผลการศึกษาเปรียบเทียบระดับประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาส จำแนกตามข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประเภท งบประมาณรายจ่าย และจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแตกต่างกันมีประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดนราธิวาสแตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษายังพบว่า ปัจจัยช่องทางการสื่อสารกับประชาชน ปัจจัยความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คือ เพิ่มช่องทางการสื่อสารกับประชาชนหลากหลายช่องทาง โดยเฉพาะการรับชำระภาษีผ่านระบบออนไลน์ และส่งเสริมพัฒนาทักษะการใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติการแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ เพื่อความพร้อมสำหรับการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อไปen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6410521523.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
6410521523 บทความวิจัย.pdf454.45 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons