Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18107
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ชนิดา ทองทรง | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-27T03:42:10Z | - |
dc.date.available | 2023-04-27T03:42:10Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18107 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of the study were 1) to investigate communication channels of sub-district headmen, village headmen, etc. vertically from top to bottom, horizontally, and vertically from bottom to top during the COVID-19 pandemic in the area of Ranot District, Songkhla Province, 2) to explore the efficiency in using the communication channels among sub-district headmen, village headmen, etc. vertically from top to bottom, horizontally, and vertically from bottom to top during the COVID-19 pandemic in the area of Ranot District, Songkhla Province, and 3) to compare the efficiency in using the communication channels among sub-district headmen, village headmen, etc. classified according to personal factors during the COVID-19 pandemic in the area of Ranot District, Songkhla Province. A questionnaire was used to collect data from a sample group of 181 residents calculated using Taro Yamane’s formula. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, standard deviation, t-test, f-test, and one-way ANOVA analysis. The study found 1) the communication channel used by most subdistrict headmen, village headmen, etc. vertically from top to bottom, horizontally, and vertically from bottom to top during the COVID-19 pandemic in the area of Ranot District, Songkhla Province was LINE. 2) For the efficiency in using the communication channels among sub-district headmen, village headmen, etc. vertically from top to bottom, horizontally, and vertically from bottom to top during the COVID-19 pandemic in the area of Ranot District, Songkhla Province, it was found that the efficiency in using all the three forms of communication channels was at the highest level. 3) Sub-district headmen, village headmen, etc. who were different ingender, age, educational level, and monthly income used different forms of communication channels and were different in the efficiency in using the communication channels during the COVID-19 pandemic in the area of Ranot District, Songkhla Province, and the difference was statistically significant at the level .05 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | โควิด 19 | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร | en_US |
dc.title | การศึกษาช่องทางการสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | A Study of Communication Channels of Sub-district Headmen, Village Headmen, etc. during the COVID-19 Pandemic in the Area of Ranot District, Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาช่องทางการสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ในแนวดิ่งจากบนลงล่าง แนวราบ และแนวดิ่งจากล่างขึ้นบน ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการใช้ช่องทางสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ จำแนกตามแนวดิ่งจากบนลงล่าง แนวราบ และแนวดิ่งจากล่างขึ้นบน ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอ ระโนด จังหวัดสงขลาและ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ช่องทางการสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ แตกต่างกันจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 181 คน โดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และทดสอบค่าเอฟ วิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า 1) ช่องทางการสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ในแนวดิ่ง จากบนลงล่าง แนวราบ และแนวดิ่งจากล่างขึ้นบน ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอระโนด จังหวัด สงขลา จะใช้ช่องทางไลน์ในการสื่อสารมากที่สุด 2) ประสิทธิภาพการใช้ช่องทางการสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ จำแนกตามแนวดิ่งจากบนลงล่าง แนวราบ และแนวดิ่งจากล่างขึ้นบน ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา พบว่าประสิทธิภาพการใช้ช่องทางการสื่อสารทั้ง 3 แนวอยู่ใน ระดับมากที่สุด 3) กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ช่องทางการ สื่อสารแตกต่างกันมีประสิทธิภาพการสื่อสาร ในช่วงโควิด 19 ในพื้นที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
บทความวิจัย ชนิดา.pdf | 274.72 kB | Adobe PDF | View/Open | |
การศึกษาช่องทางการสื่อสารของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ในช่วงโควิด 19.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License