Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18101
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีร หฤทัยธนาสันติ์ | - |
dc.contributor.advisor | เรชา ชูสุวรรณ | - |
dc.contributor.author | มาดีฮะห์ จารงค์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-25T06:20:30Z | - |
dc.date.available | 2023-04-25T06:20:30Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18101 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This qualitative and action research aims to study the implement of lesson study and open approach to build the Professional learning community of mathematics teachers in Sritaksin School under Narathiwat Private Education Office. It is also to study the community of professional learning of mathematics teachers in Sritaksin School under Narathiwat Private Education Office from implement of lesson study and open approach. The key informants used in this study were one school administrator, one deputy head of school academics, one head of mathematic Learning (grade-3 mathematics teacher), three Mathematic teachers of Prathom 1, 2 and 4, and two representative teachers who were not part of the class study team. The informants were selected by purposive sampling method. The instruments used to collect data were a semi-structured interview, non-participant observation form, record and reflection form of post-learning management, learner learning assessment form and related documents. Electronic information and researcher analyzed the data by analyzing the content. The results follow as: 1. Implementation of lesson study and open approach to build the Professional learning community of mathematics teachers in Sritaksin School under Narathiwat Private Education Office showed that in overal most of the teachers followed a three-step action plan: 1) preparation stage, 2) operating stage, and 3) summary of the past lesson can be divided two subject matter as: 3.1) The changes arising from the implementation of lesson study and open approach: (1) Teachers (2) Lesson Study Team (3) Administrator (4) Students and (5) Lessons and 3.2) Problem conditions and solutions are (1) time, (2) difficulty, (3) media, and (4) experience. 2. The community of professional learning of mathematics teachers in Sritaksin School under Narathiwat Private Education Office from implement of lesson study and open approach shows that there were five elements of professional learning community as follows: 1) shared vision and values 2) learning teams 3) shared leadership 4) shared learning development and 5) support collaboration. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ | en_US |
dc.subject | การศึกษาชั้นเรียน | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบเปิด | en_US |
dc.subject | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ | en_US |
dc.title | การใช้การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้แบบเปิด เพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูคณิตศาสตร์ในโรงเรียนศรีทักษิณ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดนราธิวาส | en_US |
dc.title.alternative | Implement of Lesson Study and Open Approach to Build the Professional Learning Community of Mathematics Teachers in Sritaksin School under Narathiwat Private Education Office. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Educational Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาบริหารการศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาการใช้การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้แบบเปิดของครูคณิตศาสตร์ ในโรงเรียน ศรีทักษิณ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดนราธิวาส และเพื่อศึกษาความเป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูคณิตศาสตร์ ในโรงเรียนศรีทักษิณ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดนราธิวาส จากการใช้การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้แบบเปิดผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้คือ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 1 คน รองหัวหน้าวิชาการโรงเรียน จำนวน 1 คน หัวหน้าสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์(ครูสอนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3) จำนวน 1 คน ครูสอนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 4 จำนวน 3 คน และตัวแทนครูผู้สอนที่ไม่ร่วมอยู่ ในทีมศึกษาชั้นเรียน จำนวน 2 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) เครื่องมือที่ ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม แบบบันทึกหลัง การจัดการเรียนรู้และสะท้อนคิด แบบประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เอกสารต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์และผู้วิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. การใช้การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้แบบเปิด ของครูคณิตศาสตร์ ใน โรงเรียนศรีทักษิณ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดนราธิวาส โดยภาพรวมส่วนใหญ่เป็นไป ตามแผนการดำเนินการ 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมความพร้อม สามารถดำเนินการตามแผนการ ดำเนินงานและมีการปรับแผนตามบริบทของโรงเรียน 2) ขั้นปฏิบัติการ สามารถดำเนินการใช้ การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้แบบเปิดได้ครบตามขั้นตอนอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน และ 3) ขั้นสรุปบทเรียนที่ผ่านมา สามารถสรุปเป็น 2 ประเด็น ดังนี้ 3.1) ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากการใช้การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้แบบเปิด ได้แก่ (1) ด้านครูผู้สอน (2) ด้านทีม (3) ด้านผู้บริหาร (4) ด้านผู้เรียน และ (5) ด้านบทเรียน และ 3.2) สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข ได้แก่ (1) เวลา (2) ความยุ่งยาก (3) สื่อ และ (4) ประสบการณ์ 2. ความชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูคณิตศาสตร์ในโรงเรียนศรีทักษิณ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดนราธิวาส จากการใช้การศึกษาชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้ แบบเปิด พบว่า เกิดความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพทั้ง 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) การมีวิสัยทัศน์และค่านิยมร่วม 2) ทีมเรียนรู้ร่วมกัน 3) ภาวะผู้นำ 4) การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกัน และ 5) การสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกัน | en_US |
Appears in Collections: | 260 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5920121223.pdf | 4.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License