Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18090
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นุชนาถ คงช่วย | - |
dc.contributor.author | ธนินทร์ สังขดวง | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-25T03:22:52Z | - |
dc.date.available | 2023-04-25T03:22:52Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18090 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This research collected data from all relevant stakeholders and was aimed to (1) investigate perception of local people living in Hat Chao Mai National Park communities on responsible tourism practice, destination sustainability, and quality of life, (2) investigate snorkeling tourists’ demographic information, their awareness on snorkeling guidelines, their awareness on legislation related to coral reef, and their compliance with the snorkeling guidelines, (3) examine tourism management situation of snorkeling tour operators and related agencies, and, (4) explore guideline for developing sustainable snorkeling tourism in Hat Chao Mai National Park. This research employed mixed methods research design. The samples were 355 local people, 397 snorkeling tourists, and 15 snorkeling tour operators and related agencies. The results from Structural Equation Modelling (SEM) analysis revealed that tourists’ perceptions on responsible tourism practice influenced their perceived destination sustainability, their perceived destination sustainability influenced perceived quality of life, and, their perceived responsible tourism practice influenced perceived quality of life at a significant level of p<0.001 and p<0.01. The results from Multiple Regression Analysis showed that tourists’ awareness on snorkeling guidelines was relevant to their compliance with the guidelines at a significant level of p<0.001. The findings from examining tourism management situation showed some management problems such as tour guides did not provide enough information to the tourists, tour operators and tourists accidently and intentionally destroyed coral reef. Based on the research findings, it is recommended that relevant government agencies should develop strategy on snorkeling tourism management in Had Chao Mai National Park by employing responsible tourism practice with all relevant stakeholders. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Sustainable tourism | en_US |
dc.subject | Snorkeling | en_US |
dc.subject | Responsible tourism practice | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ตรัง | en_US |
dc.subject | การพัฒนาแบบยั่งยืน แง่สิ่งแวดล้อม ตรัง | en_US |
dc.title | การพัฒนาการท่องเที่ยวดำน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง | en_US |
dc.title.alternative | Sustainable Snorkeling Tourism Development in Haad Chao Mai National Park, Trang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Environmental Management (Environmental Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยในครั้งนี้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ของประชาชนที่อาศัยในชุมชนชายฝั่งอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมในเรื่องหลักปฏิบัติด้านการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ ความยั่งยืนของสถานที่ท่องเที่ยว และคุณภาพชีวิต ศึกษาข้อมูลนักท่องเที่ยวดำน้ำประเภทผิวน้ำด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ การตระหนักถึงแนวปฏิบัติสำหรับการท่องเที่ยวดำน้ำ การตระหนักถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแนวปะการัง กับการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติสำหรับการท่องเที่ยวดำน้ำ ศึกษาสภาพในการดำเนินงานการจัดการท่องเที่ยวดำน้ำของธุรกิจนำเที่ยวดำน้ำประเภทผิวน้ำและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวดำน้ำอย่างยั่งยืนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ใช้วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม จากกลุ่มตัวอย่างประชาชน 355 ตัวอย่าง นักท่องเที่ยวดำน้ำประเภทผิวน้ำ 397 ตัวอย่าง และธุรกิจนำเที่ยวดำน้ำประเภทผิวน้ำและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 15 ตัวอย่าง ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสมการโครงสร้าง (SEM) ชี้ให้เห็นว่า การรับรู้ในเรื่องหลักปฏิบัติด้านการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบมีอิทธิพลรวมต่อการรับรู้ในเรื่องความยั่งยืนของสถานที่ท่องเที่ยว การรับรู้ในเรื่องความยั่งยืนของสถานที่ท่องเที่ยวมีอิทธิพลรวมต่อการรับรู้ในเรื่องคุณภาพชีวิต และการรับรู้ในเรื่องหลักปฏิบัติด้านการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบมีอิทธิพลรวมต่อการรับรู้ในเรื่องคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.001 และ p<0.01 ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณชี้ให้เห็นว่า การตระหนักถึงแนวปฏิบัติสำหรับการท่องเที่ยวดำน้ำที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติสำหรับการท่องเที่ยวดำน้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p< 0.001 ผลการศึกษาสภาพในการดำเนินงานชี้ให้เห็นถึงปัญหาด้านการจัดการบางประการ เช่น ปัญหามัคคุเทศก์บางส่วนไม่อธิบายข้อมูลให้กับนักท่องเที่ยวได้รับทราบ ปัญหาการทำลายปะการังทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจของธุรกิจนำเที่ยวและนักท่องเที่ยว เป็นต้น ซึ่งข้อเสนอแนะที่ได้จากงานวิจัยชี้ให้เห็นว่า หน่วยงานภาครัฐที่มีอำนาจหน้าที่และมีส่วนเกี่ยวข้องรับผิดชอบ ควรกำหนดแผนยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวดำน้ำแบบผิวน้ำในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม โดยยึดหลักปฏิบัติด้านการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบในกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน | en_US |
Appears in Collections: | 820 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5910930016.pdf | 5.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License