Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18081
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาฟีฟี ลาเต๊ะ | - |
dc.contributor.advisor | ฮามีด๊ะ มูสอ | - |
dc.contributor.author | อรรถพล ลิวัญ | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-21T08:45:43Z | - |
dc.date.available | 2023-04-21T08:45:43Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18081 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This research aimed to analyze the definition of becoming a qualified chemist and to study the causal factors influenced becoming a qualified chemist of chemistry undergraduate students in Thailand. An exploratory sequential mixed-method was conducted in this study, For the first phase, the qualitative design was conducted to analyze the definition of becoming a qualified chemist. The semi-structured questionnaire was research instrument. The sample consisted of 32 people who involved in chemistry from school and university level across Thailand; 8 chemistry teachers from secondary school level, 8 lecturers in chemistry from university level, 8 chemists or chemistry researchers, and 8 chemistry laboratory staffs. The results revealed that the definition of becoming a qualified chemist was the ability of person to explain natural phenomenon, nature and phenomenon of matter through using scientific process and skill for inquiring and applying knowledge and express the characters of chemist by using systematic thinking, with positive scientific attitude. In addition, there were 2 factors enhancing towards becoming a qualified chemist; the first factor was the internal factors including (1) positive attitude towards chemistry, and (2) experiences in scientific activities, and the second factor was the external factors that consisted of (1) teaching and learning management model in chemistry subject, (2) encouraging by chemistry teachers at secondary school level, (3) characteristics of a chemical master person, and (4) the role of a chemistry lectures at the university level. The second phase was the quantitative design that to study the casual factor effecting becoming a qualified chemist of graduate students in Thailand. The sample were 550 junior and senior chemistry undergraduate students. There were 586 online respondents; 290 who studying from faculty of education and 296 from faculty of science. The questionnaire consisted of 3 parts: general information, the perspective toward qualified chemist, and the factors that influenced qualified chemists. Hypotheses testing of the structural equation model using PLS-SEM. The results show that the hypotheses support statistically significant at the level of .01 only 2 hypotheses: teaching and learning management model in chemistry, and characteristics of a chemical master person. The results of the Importance-Performance Matrix analysis found that the efficiency level higher than .10 and over than 70% for all factors. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ความเป็นนักเคมี | en_US |
dc.subject | ปัจจัยที่ส่งเสริมความเป็นนักเคมี | en_US |
dc.subject | นักศึกษาสาขาเคมี | en_US |
dc.title | ความเป็นนักเคมีของนักศึกษาสาขาเคมีในประเทศไทย: การให้ความหมายและอิทธิพลเชิงสาเหตุ | en_US |
dc.title.alternative | Becoming a Qualified Chemist of Chemistry Students in Thailand: Definitions and Causal Influence | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Measurement and Educational Research) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การให้ความหมายความเป็นนักเคมี และศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุต่อความเป็นนักเคมีของนักศึกษาสาขาเคมีในประเทศไทย ดำเนินการวิจัยด้วยวิธีการวิจัยแบบผสมวิธี โดยใช้รูปแบบการวิจัย แบบแผนขั้นตอนเชิงสำรวจ ในระยะแรกใช้การศึกษาด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจความเป็นนักเคมี และปัจจัยที่ส่งเสริมความเป็นนักเคมี โดยใช้วิธีสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ซึ่งใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ครูผู้สอนวิชาเคมีจำนวน 8 คน อาจารย์ผู้สอนสาขาเคมีจำนวน 8 คน นักเคมีหรือนักวิจัยด้านเคมีจำนวน 8 คน และเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการเคมีจำนวน 8 คน รวมจำนวน 32 คน จากโรงเรียนและสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ผลการศึกษาสามารถให้ความหมายความเป็นนักเคมีได้ว่า ความสามารถของบุคคลในการอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ธรรมชาติและปรากฏการณ์ของสสาร โดยใช้กระบวนการ/ทักษะทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ และแสดงออกซึ่งบุคลิกภาพนักทดลองด้วยการใช้ความคิดอย่างเป็นระบบ รวมทั้งมีเจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตร์และปัจจัยที่ส่งเสริมความเป็นนักเคมีของนักศึกษาสาขาเคมี แบ่งออกเป็น 2 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยภายในบุคคล ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ (1) เจตคติที่ดีต่อวิชาเคมี (2) ประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ 2) ปัจจัยภายนอกบุคคล ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ (1) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเคมี (2) การสนับสนุนของครูเคมีในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (3) ลักษณะของบุคคลต้นแบบทางเคมี และ (4) บทบาทของอาจารย์เคมีในระดับมหาวิทยาลัย ในระยะที่สองใช้วิธีการศึกษาเชิงปริมาณเพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความเป็นนักเคมีของนักศึกษาสาขาเคมีในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาเคมีหลักสูตรด้านศึกษาศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์ ที่กำลังศึกษาในระดับชั้นปีที่ 3-4 จำนวน 550 คน การวิจัยครั้งนี้มีผู้ตอบแบบสอบถามออนไลน์ มาทั้งหมด 586 คน แบ่งเป็นด้านศึกษาศาสตร์ 290 คน และด้านวิทยาศาสตร์ 296 คน รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มี 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นนักเคมี ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งเสริมความเป็นนักเคมี ผลการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลของโมเดลสมการโครงสร้างด้วยวิธี PLS-SEM พบว่าสนับสนุนเส้นทางอิทธิพลที่กำหนด 10 เส้นทาง ซึ่งมี 2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความเป็นนักเคมี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่ ปัจจัยด้านรูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเคมี และปัจจัยด้านลักษณะของบุคคลต้นแบบทางเคมี ผลการวิเคราะห์ระดับความสำคัญ และระดับประสิทธิภาพ พบว่าทุกปัจจัยมีค่ามากกว่า .10 และมากกว่าร้อยละ 70 | en_US |
Appears in Collections: | 276 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6420120254.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License