Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18058
Title: | การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่สำรวจในการกระจายพันธุ์และการผลิตข้าวหอมไชยาพันธุ์พื้นเมือง |
Other Titles: | Exploratory Spatial Data Analysis on Crop Distribution and Production of Local Chaiya Native Rice Cultivation |
Authors: | ณัฐพล บุญนำ เกศินี นาคมณี College of Digital Science โครงการจัดตั้งวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ดิจิทัล |
Keywords: | การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (สถิติ);ข้าวหอมไชยา พันธุ์ สุราษฎร์ธานี |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | Thailand has a career as a farmer with rice cultivation as a leading business in many country areas. Therefore, the rice trading business both domestically and internationally is one of the important businesses. The local Chaiya native rice is a local rice variety in Chaiya District, Suratthani Province that has been famous for a long time. The Plant Genetic Conservation Project, therefore, realizes the importance of local Chaiya native rice to support farmers interested in cultivation and expands the area to grow more local Chaiya native rice with the distinctive characteristics of the one, it is classified as a unique fragrant rice of good quality. The aroma and taste are delicious. But day by day, fewer farmers grow local Chaiya native rice and disappeared from the society and way of life of the people of Chaiya District, Suratthani Province. Because most of the farmers who grow indigenous local Chaiya native rice are quite elderly. Therefore lack of inheritance from generation to generation and earns has not much compared to other occupations. Therefore we are interested in studying the guidelines for promoting the cultivation of indigenous local Chaiya native rice in Chaiya District, Suratthani Province. We studied the general condition and the context of growing local Chaiya native rice by farmers in Chaiya District, Suratthani Province. We purpose to analyze and display geographic information for the cultivation of local Chaiya native rice of the Surat Thani Rice Seed Center in dashboard form. And then we presented information to promote and encourage farmers in the area to turn to the local Chaiya native rice planting including conservation for rice propagation for interested farmers, expand the cultivation area, and develop the production of local Chaiya native rice to remain unique in Suratthani Province. To be featured in adding value to the products farmers, the program QGIS and programs ArcMap that displays geographic land plots with data obtained from the analysis of data layers data analysis via DEM. |
Abstract(Thai): | ประเทศไทยมีอาชีพเป็นชาวนาที่มีการปลูกข้าวเป็นธุรกิจชั้นนำในหลายพื้นที่ของ ประเทศ ดังนั้นธุรกิจค้าข้าวทั้งในประเทศและต่างประเทศจึงเป็นหนึ่งในธุรกิจที่สำคัญ โดยพันธุ์ ข้าวหอมไชยาเป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของอำเภอไชยาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่มีชื่อเสียงมาช้านาน โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของข้าวหอมไชยาพันธุ์พื้นเมือง เพื่อสนับสนุน เกษตรกรที่สนใจในการเพาะปลูกและขยายพื้นที่เพื่อปลูกข้าวพื้นเมืองไชยาในท้องถิ่นให้มากขึ้น ด้วยลักษณะเด่นของข้าวหอมไขยาพันธุ์พื้นเมืองจัดว่าเป็นข้าวหอมที่มีเอกลักษณ์ คุณภาพดี กลิ่นหอม และรสชาติอร่อย แต่นับวันเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมไขยาพันธุ์พื้นเมืองนั้นน้อยลง และเลือนหายไปจากสังคมและวิถีชีวิตของคนอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เนื่องจากเกษตรกรผู้ ปลูกข้าวหอมไชยาพันธุ์พื้นเมืองส่วนมากนั้นค่อนข้างอยู่ในกลุ่มเป็นผู้สูงวัย จึงทำให้ขาดการสืบทอด จากรุ่นสู่รุ่น และสร้างรายได้ไม่มากเมื่อเทียบกับการประกอบอาชีพอย่างอื่น ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจทำการศึกษาแนวทางการส่งเสริมการปลูกข้าวหอมไชยาพันธุ์ พื้นเมือง ในอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสนใจศึกษาสภาพโดยทั่วไปและบริบทการปลูกข้าว หอมไชยาพันธุ์พื้นเมืองของเกษตรกรในพื้นที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์และแสดงข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์สารสนเทศสำหรับการปลูกข้าวหอมไซยาพันธุ์พื้นเมือง ของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวข้าวสุราษฎร์ธานีในรูปแบบแดชบอร์ด และนำเสนอข้อมูลเพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนให้เกษตรกรในพื้นที่หันมาปลูกข้าวหอมไซยาพันธุ์พื้นเมือง รวมถึงการอนุรักษ์เพื่อขยายพันธุ์ ข้าวให้แก่เกษตรกรที่สนใจ ขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกและพัฒนาการผลิตข้าวหอมไชยาพันธุ์พื้นเมือง ให้คงอยู่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเป็นจุดเด่นในการเพิ่มมูลค่าผลผลิตให้แก่ ชาวเกษตรกร ด้วยระบบโปรแกรม QGIS และโปรแกรม ArcMap ที่แสดงแปลงที่ดินทางภูมิศาสตร์ และข้อมูลการที่ได้จากการวิเคราะห์ผลของชั้นข้อมูลจาก การวิเคราะห์ข้อมูลผ่าน DEM |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิทยาการข้อมูล))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2565 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18058 |
Appears in Collections: | 950 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310025002.pdf | 7.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License