Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงธิดา ไพบูลย์วรชาติ-
dc.contributor.authorอัณณ์ศรา ชิณโชติ-
dc.date.accessioned2023-04-20T04:10:09Z-
dc.date.available2023-04-20T04:10:09Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18036-
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก), 2564en_US
dc.description.abstractObjective: To study the effect of 38% SDF application in difference pHcycling models, on the microhardness and mineral density in artificial carious dentine. Methods: The sample was 120 specimens from sound premolar teeth induced to artificial carious dentine and allocated to 6 groups: 38% SDF 1 time, 3 times, and no application; under 2 pH-cycling models: long and short-time acid exposure (16 hours / day and 1 hour x 3 times / day in order). The cross-sectional microhardness and mineral density were test. Each group used 10 samples per each test (n=10) Results: When comparing only the four experimental groups tested which the test were done on the seventh day of the experiment, the application of SDF in a short-time acid exposure model resulted in the greatest increase in mineral density. However, the microhardness was not different from that of the SDF long-time acid exposure model group, and from the descriptive statistic, results showed that 3 time-application of SDF had higher mineral density than the initial. But only at 3 time-application in the long-time acid exposure model which the test was done on the 21 days of the experiment, the microhardness was greatly reduced. Conclusion: The pH-cycling model and SDF application were factors that resulted in the increase in microhardness and mineral density from the beginning. It was found that the short-time acid exposure model with SDF application showed the best results and the repeated application of SDF had increased mineral density and microhardness from the initiate. Whereas in the long-time acid exposure model with multiple application of SDF had been shown to increase the mineral density but may not increase the microhardness.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์en_US
dc.subjectวงจรเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด-ด่างen_US
dc.subjectฟันกรามน้อยen_US
dc.subjectฟัน การดูแลและสุขวิทยาen_US
dc.titleผลของซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ต่อความแข็งจุลภาคและความหนาแน่นแร่ธาตุในรอยผุจำลองชั้นเนื้อฟันภายใต้วงจรเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด-ด่าง ที่ต่างกันen_US
dc.title.alternativeEffects of silver diamine fluoride on microhardness and mineral density in artificial carious dentine under different pH-cycling modelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Dentistry (Oral Biology and Occlusion)-
dc.contributor.departmentคณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยาช่องปากและระบบการบดเคี้ยว-
dc.description.abstract-thวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการทา 38% SDF ที่แตกต่างกันภายใต้วงจร เปลี่ยนแปลงความเป็นกรด-ด่าง ที่ต่างกันต่อความแข็งจุลภาคและความหนาแน่นแร่ธาตุในรอยผุ จ าลองชั้นเนื้อฟัน วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือชิ้นฟันจากฟันกรามน้อยถูกเหนี่ยวน าให้เกิด รอยผุจ าลองชั้นเนื้อฟันจ านวน 120 ชิ้น แบ่งเป็น 6 กลุ่มการทดลอง ได้แก่ ทา 38% SDF 1 ครั้ง, 3 ครั้ง และไม่ทา ภายใต้วงจรความเป็นกรด-ด่าง 2 แบบ คือ แบบสัมผัสกรดนาน และแบบสัมผัส กรดช่วงสั้น (16 ชั่วโมง/วัน และ 1 ชั่วโมง x 3 ครั้ง/วัน ตามล าดับ) ท าการทดสอบความแข็งจุลภาค ชนิดตัดขวาง (cross-sectional microhardness) และความหนาแน่นแร่ธาตุ แต่ละกลุ่มใช้ 10 ชิ้น ตัวอย่างต่อแต่ละการทดสอบ (n=10) ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบเฉพาะ 4 กลุ่มการทดลองที่ ทดสอบหลังจากเริ่มต้นการทดลอง 7 วัน การทา SDF ในวงจรสัมผัสกรดช่วงสั้นมีผลให้ความ หนาแน่นแร่ธาตุเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นมากที่สุด แต่ความแข็งจุลภาคไม่แตกต่างกับกลุ่มสัมผัสกรด นานทา SDF และจากสถิติเชิงพรรณนาพบว่าการทา 3 ครั้ง จะมีความหนาแน่นแร่ธาตุสูงขึ้นกว่า เริ่มต้น แต่เฉพาะกลุ่มทา SDF 3 ครั้งในวงจรสัมผัสกรดนานคือ 21 วัน นับจากเวลาเริ่มต้น มีค่า ความแข็งจุลภาคลดลงอย่างมาก สรุปผล: วงจรเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด-ด่าง และการทา SDF เป็นปัจจัยที่มีผลให้ความแข็งจุลภาคและความหนาแน่นแร่ธาตุเพิ่มขึ้นจากเริ่มต้น โดยพบว่าใน แบบสัมผัสกรดช่วงสั้น การทา SDF จะให้ผลดีที่สุด และการทา SDF ซ ้าหลายครั้งจะยิ่งเพิ่มความ หนาแน่นและความแข็งจุลภาคมากขึ้น ในขณะที่ในแบบสัมผัสกรดนานพบว่าการทา SDF หลาย ครั้งมีความหนาแน่นแร่ธาตุเพิ่มขึ้นแต่ความแข็งจุลภาคยังคงลดลงen_US
Appears in Collections:660 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6210820027.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons