Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorตรีศิลป์ บุญขจร-
dc.contributor.authorมาริษา หมัดหนิ-
dc.date.accessioned2023-04-20T02:58:11Z-
dc.date.available2023-04-20T02:58:11Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18028-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาไทย))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2565en_US
dc.description.abstractThe objective of this thesis is to analyze and compare discourses and discursive practices of “good child” in the Thai and the Malaysian social and cultural contexts by applying Fairclough's Critical Discourse Analysis theory (Fairclough, 1995) with two research hypotheses. First, the “good child” discourse in the Thai textbooks are constructed from series of discourses, namely the nation discourse, the Buddhism discourse, the Monarch discourse, the patronage system discourse and the individual duty discourse. The “good child” discourse in the Malaysian textbooks are constructed from the discourse on love of the individual dignity,the family institution discourse, the multiculturalism discourse and the Islam discourse. Second, the discourses and discursive practices of “good child” in the Thai and the Malaysian social and cultural contexts are both similar and different. As for the data group used in this study, there are 39 textbooks, 24 of Thai and 15 of Malaysian, published in the past decade (2007-2016). The results of this research reveals that the Thai and the Malaysian textbooks share similar “good child” discourses, namely the nation discourse, the religion discourse, the Monarch discourse, the senior system discourse, the patronage system discourse and the individual duty discourse. There are three different characteristics of the “good child” discourses in the Thai and the Malaysian textbooks. First, the Thai textbooks focus on the Monarch, while the Malaysian ones concentrate on religion as nation’s inspiration. Second, the Thai textbooks give more precedence to the senior system, both in family and kinship and in society than the Malaysian ones. Third, the “good child” discourse in the Thai textbooks relate to the 12 core values initiated by the government sector, while the Malaysian one relates to the Islamic teachings.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectวาทกรรมเด็กดีen_US
dc.subjectแบบเรียนไทยen_US
dc.titleวาทกรรม“เด็กดี”: การศึกษาเปรียบเทียบแบบเรียนชั้นประถมศึกษาไทยกับมาเลเซียen_US
dc.title.alternative“Good Child” Discourses: Comparative Study of Thai and Malaysian Textbooks for Primary Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Humanities and Social Sciences (Thai)-
dc.contributor.departmentคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย-
dc.description.abstract-thวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบวาทกรรมและปฏิบัติการทาง วาทกรรม“เด็กดี” ในบริบทสังคมและวัฒนธรรมของไทยกับมาเลเซีย ตามกรอบแนวคิดวาทกรรม วิเคราะห์เชิงวิพากษ์ของแฟร์คลาฟ (Fairclough, 1995) สมมุติฐานการวิจัยมี 2 ประการ คือ ประการ แรก วาทกรรม“เด็กดี” ในแบบเรียนของไทยประกอบสร้างขึ้นจากชุดวาทกรรมต่างๆ ได้แก่ วาทกรรมชาติ วาทกรรมศาสนาพุทธ วาทกรรมพระมหากษัตริย์ วาทกรรมระบบอาวุโสและระบบอุปถัมภ์ รวมถึงวาทกรรมหน้าที่ของปัจเจกบุคคล ส่วนวาทกรรมในแบบเรียนมาเลเซียประกอบสร้างขึ้นจาก วาทกรรมความรักศักดิ์ศรีของปัจเจกบุคคล วาทกรรมสถาบันครอบครัวและวาทกรรมว่าด้วย พหุวัฒนธรรมรวมทั้งชุดวาทกรรมศาสนาอิสลาม ประการที่ 2 วาทกรรมและปฏิบัติการทางวาทกรรม “เด็กดี” ในบริบทสังคมและวัฒนธรรมของไทยกับมาเลเซียมีทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน กลุ่มข้อมูลที่ ใช้ศึกษา คือ แบบเรียนไทยและมาเลเซียในรอบ 1 ทศวรรษ (ระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2559) จำนวน 39 เล่ม ได้แก่ แบบเรียนของไทย จำนวน 24 เล่ม และแบบเรียนของมาเลเซีย จำนวน 15 เล่ม ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แบบเรียนไทยและมาเลเซีย มีวาทกรรม“เด็กดี”ร่วมกัน ได้แก่ วาทกรรม ชาติ วาทกรรมศาสนา วาทกรรมพระมหากษัตริย์ วาทกรรมระบบอาวุโส และวาทกรรมหน้าที่ของปัจเจก บุคคล ส่วนวาทกรรม“เด็กดี” ที่แตกต่างกัน ได้แก่ ประการแรก วาทกรรม“เด็กดี” ของไทยจะให้ ความสำคัญกับพระมหากษัตริย์ส่วนแบบเรียนมาเลเซียให้ความสำคัญกับศาสนาในฐานะเป็นศูนย์รวมของ จิตใจเป็นหลัก ประการที่สองในแบบเรียนไทยเน้นระบบอาวุโส ทั้งความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว ระบบเครือญาติกับสังคมมากกว่าในแบบเรียนของมาเลเซีย ประการที่สาม วาทกรรม“เด็กดี”ในแบบเรียน ไทยสัมพันธ์กับวาทกรรม“เด็กดี” ที่ภาครัฐเป็นผู้กำหนดค่านิยม 12 ประการ ส่วนในแบบเรียนของ มาเลเซีย วาทกรรม“เด็กดี” สัมพันธ์กับหลักคำสอนของศาสนาอิสลามen_US
Appears in Collections:411 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5820230004.pdfThesis Marisa Matni3.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons