Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18003
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามณี ตระกูลมุทุตา | - |
dc.contributor.author | ธาริณี สมาน | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-19T08:27:36Z | - |
dc.date.available | 2023-04-19T08:27:36Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18003 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this study were 1) to study the level of efficiency in working; 2) to comparatively study the efficiency of working factors between each personal factor; 3) to study the working factors affecting the working efficiency; and 4) to study motivation affecting the working efficiency of employees working at Choeng Thale Sub District Administration Organization area, Thalang District, Phuket Province. The study was done by surveying questionnaires to 153 persons. Thereafter, the data was analyzed using statistical frequency, percentage, standard deviation, t-test testing, one-way analysis of variance, Scheffe's method, and multiple linear regression. The study showed that 1) the working efficiency level on quality, quickness, and success were high; 2) the comparative study of the efficiency of working factors between each personal factor showed that the differences in position and average monthly salary had working efficiency differential with significant statistic level of 0.05; 3) the analysis on working factors affecting the working efficiency showed that the career development and relationship with supervisors and colleagues affected the working efficiency with significant statistic level of 0.05. The adaptation to novation and technology was the only factor that had a negative effect on working efficiency; 4) the analysis on the motivation affecting the working efficiency showed that career stability, salary, and overtime payment affected working efficiency with a significant statistic level of 0.05. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ประสิทธิภาพการทำงาน | en_US |
dc.subject | ภายใต้การระบาดของโรค | en_US |
dc.subject | บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงทะเล | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานภายใต้การระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting the efficiency in working under communicable disease within Choeng Thale Sub District Administration Organization area, Thalang District, Phuket Province. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อการศึกษาระดับประสิทธิภาพในการทำงาน 2) ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของประสิทธิภาพในปัจจัยในการทำงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) ศึกษาปัจจัยในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน และ 4) ศึกษาปัจจัยจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน ของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 153 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว และทดสอบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการทำงาน ด้าน คุณภาพงาน ความรวดเร็วในการทำงาน และความสำเร็จในงาน อยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในปัจจัยในการทำงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ตำแหน่งงาน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีประสิทธิภาพในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานพบว่า ความก้าวหน้าในงาน และความสัมพันธ์กับหัวหน้าและเพื่อนร่วมงาน ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยการปรับตัวให้เท่าทันต่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเป็นด้านเดียวที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานในเชิงลบ 4) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน พบว่าความมั่นคงในอาชีพ เงินเดือน และค่าล่วงเวลา ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6410521521.pdf | 843.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
6410521521 Article.pdf | 188.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License