กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17999
ชื่อเรื่อง: Development of a highly sensitive nucleic acid amplification-based detection for human leptospirosis infection
ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเทคนิค nucleic acid amplification-based detection ที่มีความไวสูงเพื่อตรวจหาผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรชิส
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: Nongyao Sawangjaroen
Thanyatorn Jiradechbadee
Faculty of Science (Microbiology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา
คำสำคัญ: Leptospira;highly sensitive nucleic acid amplification;Leptospirosis Pathogenicity;Pathogenic microorganisms
วันที่เผยแพร่: 2022
สำนักพิมพ์: Prince of Songkla University
บทคัดย่อ: The availability of highly sensitive diagnostic tools is crucial for individual screening during the epidemic of leptospirosis. A new approach was evaluated to target lipL32 gene amplification that combines a conventional quantitative polymerase chain reaction (qPCR) approach and strand displacement isothermal amplification (qPCDR). The gene target used in this study was LipL32 genes. The qPCDR and qPCR reactions carried out with SD polymerase and taq polymerase, respectively. The results showed that qPCDR technique presented higher sensitivity than qPCR (can detect 2 copies/µL vs. 20 copies/µL) . Evaluation of qPCDR using pathogenic Leptospira DNA diluted with human DNA samples showed at least ten-fold more sensitive than qPCR assays. Therefore, the qPCDR-based technique developed in this study is a promising approach for pathogenic Leptospira detection and further diagnostic kit development.
Abstract(Thai): การใช้เครื่องมือการตรวจวัดวินิจฉัยด้วยเทคนิคความไวสูงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับขั้นตอนการคัดกรองในช่วงการระบาดของโรคเลปโตสไปโรซิส เพื่อเป็นการพัฒนาเครื่องมือการวินิจฉัยเชื้อก่อโรคด้วยวิธีการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมโดยใช้เทคนิค quantitative polymerase chain reaction (qPCR) ร่วมกับเทคนิค strand displacement isothermal amplification (qPCDR) มียีนส์เป้าหมายคือ LipL32 ซึ่งในแต่ละปฏิกิริยาจะใช้ชนิดของ DNA polymerase ที่แตกต่างกันดังนี้ เทคนิค qPCDR จะใช้ SD polymerase ในขณะที่ qPCR จะใช้ taq polymerase ในปฏิกิริยา จากการศึกษาพบว่าวิธี qPCDR มีความไวต่อปฏิกิริยามากกว่า qPCR (qPCDR สามารถตรวจวัดปริมาณเชื้อเลปโตสไปราจำนวน 2 copies ต่อไมโครลิตรเทียบกับ qPCR 20 copies ต่อไมโครลิตร) นอกจากนี้เมื่อทำการเจือจาง Leptospira DNA ที่ก่อโรคกับตัวอย่าง DNA ของมนุษย์พบว่า qPCDR มีความไวสูงกว่า qPCR อย่างน้อยสิบเท่า ดังนั้นการพัฒนาเทคนิค qPCDR ในการศึกษาครั้งนี้มีแนวโน้มเป็นไปในทิศทางบวกและคาดว่าอาจเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุดตรวจวัดวินิจฉัยเชื้อก่อโรคเลปโตสไปโรซิสได้ในอนาคต
รายละเอียด: Thesis (M.Sc., Microbiology)--Prince of Songkla University, 2022
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17999
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:326 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
6110220118.pdf2.23 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons