Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17991
Title: | ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนในการตวงยาน้ำสำหรับเด็กของผู้ปกครอง |
Other Titles: | Factors Affecting Dosing Errors in Pediatric Liquid Medications among Parent |
Authors: | สงวน ลือเกียรติบัณฑิต ชัญณยา หมันการ Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacy Administration) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ |
Keywords: | การตวงยาน้ำ;ยาน้ำสำหรับเด็ก;ความคลาดเคลื่อนทางยา;ความคลาดเคลื่อนในการตวงยา;เภสัชกรรมโรงพยาบาล;เด็ก การใช้ยา |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | The objective of this research was to study the effect of drug viscosity, volume of medicine to be measured, dosing devices, units of volume on the drug label and health literacy (HL) on dosing errors of pediatric liquid medicines among parent. The subjects were 333 parents of children under 12 years old who completed the THLA-W+ (Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension) to assess their HL and were categorized into those with adequate and inadequate levels of HL. The subjects were asked to measure the medicine under the condition randomly chosen for them by the researcher. There were 8 conditions in the study: 2 levels of viscosity (low - high) x 2 units of volume (teaspoon or milliliter) x 2 devices (teaspoon or syringe). Each subject measured 5 volumes, i.e. half, 0.6, three-quarter, 1 and 1.5 teaspoons for those getting teaspoon as the volume unit, and 2.5, 3, 3.75, 5 and 7.5 milliliters for those getting milliliters as the volume unit. The data were analyzed using generalized estimating equation. It was found that device x unit x HL Interaction and device x unit x volume Interaction showed a statistically significant effect on dosing error. Viscosity had no effect on dosing error. The incongruence between unit of volume on drug label and measuring tool increased dosing error. Dosing error when unit = teaspoon and tool = teaspoon was less than that when unit = teaspoon and tool = syringe (absolute errors were 13.0527.99% and 26.12-42.96%, respectively). In the case of unit of volume = teaspoon and device = teaspoon, 68.29% and 76.83% of subjects were able to accurately measure half and 1 teaspoon of the drug, respectively. However only 47.56-57.31% of the subjects were able to accurately measure the drug at the volume of 0.6, three-quarter and 1.5 teaspoons. When the unit of volume = milliliter and device = syringe, there were 85.88-96.47% of subjects correctly measuring the drug. When unit of volume = ml and tool = syringe, it became an easy task to measure the medicine with 90% of people with insufficient HL being able to measure medication correctly. If unit of volume = teaspoon and toolt = teaspoon, 55.61% and 67.32% of those with insufficient and sufficient HL, respectively were able to accurately measure the drug, respectively. Public health organizations should promote to the use of milliliters as unit volume on drug labels and distribute syringe when dispensing liquid medicine. Use the teaspoon as volume unit on drug label and teaspoon as a device should be done only when the volume of the medication to be measured is half or 1 teaspoon. Dispensing of liquid medicine should avoid the incongruence between volume unit and distributed dosing device. |
Abstract(Thai): | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความหนืดของยา ปริมาตรของยาที่ต้องตวง อุปกรณ์ที่ใช้ตวงยา หน่วยของปริมาตรบนฉลากยา และระดับความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy: HL) ของผู้ตวงยาต่อความคลาดเคลื่อนในการตวงยาน ้าส าหรับเด็กของ ผู้ปกครอง อาสาสมัคร คือ ผู้ปกครองที่มีเด็กอายุไม่เกิน 12 ปีในความดูแลจ านวน 333 คนที่ ตอบแบบวัด THLA-W+ (Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension) เพื่อประเมิน HL และถูกแบ่งเป็นผู้ที่มี HL ในระดับที่ เพียงพอและไม่เพียงพอ อาสาสมัครถูกขอให้ตวงยาตามเงื่อนไขที่ผู้วิจัยเลือกให้อย่างสุ่ม โดย เงื่อนไขในการศึกษามี 8 แบบ คือ 2 ความหนืด (น้อย-มาก) x 2 หน่วยปริมาตร (ช้อนชาหรือ มิลลิลิตร) x 2 อุปกรณ์ (ช้อนชาหรือกระบอกตวงยา) อาสาสมัครแต่ละรายตวงยาใน 5 ปริมาตร นั่นคือ ครึ่ง, 0.6, ค่อน, 1 และ 1.5 ช้อนชาส าหรับผู้ที่ได้หน่วยปริมาตรเป็นช้อนชา และ 2.5, 3, 3.75, 5 และ 7.5 มิลลิลิตรส าหรับผู้ที่ได้หน่วยปริมาตรเป็นมิลลิลิตร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ generalized estimating equation ผลการวิจัยพบว่า ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอุปกรณ์ x หน่วย x HL และปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อุปกรณ์ x หน่วย x ปริมาตร มีผลต่อความคลาดเคลื่อนในการตวงยาอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ แต่ความหนืดไม่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนในการตวงยา ความไม่สอดคล้องของหน่วยปริมาตรที่ ระบุบนฉลากและอุปกรณ์ตวงยาเพิ่มความคลาดเคลื่อน เมื่อหน่วย=ช้อนชา และอุปกรณ์=ช้อน ชา เกิดความคลาดเคลื่อนที่น้อยกว่ากรณีที่หน่วย=ช้อนชา และอุปกรณ์=กระบอกตวงยา (พบ ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ร้อยละ 13.05-27.99 และ 26.12-42.96 ตามล าดับ) ในกรณีที่หน่วย ปริมาตร=ช้อนชา และอุปกรณ์=ช้อนชา อาสาสมัครร้อยละ 68.29 และ 76.83 สามารถตวงยาใน ปริมาตรครึ่ง และ 1 ช้อนชาได้อย่างถูกต้อง ตามล าดับ แต่อาสาสมัครเพียงร้อยละ 47.56-57.31 ตวงยาได้ถูกในปริมาตร 0.6, ค่อน และ 1.5 ช้อนชา ขณะที่การใช้หน่วยปริมาตร=มิลลิลิตร และ อุปกรณ์=กระบอกตวงยา มีอาสาสมัครร้อยละ 85.88-96.47 ตวงยาได้ถูกต้อง หากหน่วย ปริมาตร=มิลลิลิตร และอุปกรณ์=กระบอกตวงยา จะท าให้การตวงยาเป็นเรื่องง่าย ร้อยละ 90 ของผู้ที่มี HL ไม่เพียงพอสามารถตวงยาได้อย่างถูกต้อง หากหน่วยปริมาตร=ช้อนชา และอุปกรณ์=ช้อนชา จะท าให้การตวงยาเป็นเรื่องที่ยากขึ้น ร้อยละ 55.61 และ 67.32 ของผู้ที่มี HL ไม่เพียงพอและเพียงพอสามารถตวงยาได้อย่างถูกต้อง ตามล าดับ องค์กรทางสาธารณสุขควร ส่งเสริมให้มีการใช้หน่วยมิลลิลิตรบนฉลากยาและมีการแจกกระบอกตวงยาเมื่อจ่ายยา การใช้ หน่วยช้อนชาบนฉลากยาและแจกช้อนชาเป็นอุปกรณ์ ควรท าเฉพาะเมื่อปริมาตรของยาที่ต้อง ตวง คือ ครึ่งหรือหนึ่งช้อนชาเท่านั้น สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการจ่ายยาน ้าส าหรับเด็ก คือ การระบุ หน่วยปริมาตรและการแจกอุปกรณ์ตวงยาที่ไม่สอดคล้องกัน |
Description: | เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร), 2564 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17991 |
Appears in Collections: | 575 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6210721001.pdf | 1.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License