Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฆายนีย์ ช.บุญพันธ์-
dc.contributor.authorจุรีพร กินรี-
dc.date.accessioned2023-04-18T09:22:44Z-
dc.date.available2023-04-18T09:22:44Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17977-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566en_US
dc.description.abstractThe objectives of the study were to determine the levels of communication efficiency of village headman from the perception of residents in Khlong Hoi Khong Sub-district, Khlong Hoi Khong District, Songkhla Province, to compare the communication efficiency of village headman from the perception of residents in Khlong Hoi Khong Sub-district, Khlong Hoi Khong District classified according to personal factors, and to analyze communication factors affecting communication efficiency of village headmen in Khlong Hoi Khong District. The population was 377 residents aged 18 and over from 7 villages recruited using random sampling based on Yamane’s formula. The instrument of this quantitative research was a questionnaire, and the statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, and multiple regression analysis. The study found that the levels of communication efficiency of village headmen from the perception of residents in Khlong Hoi Khong Sub-district, Khlong Hoi Khong District, Songkhla Province were high. The comparison of the communication efficiency of village headman from the perception of residents in Khlong Hoi Khong Sub-district, Khlong Hoi Khong District classified according to personal factors revealed that the communication efficiency of village headman perceived by residents who were different in gender, age, marital status, educational level, and occupation was different but with no significance. However, the communication efficiency perceived by residents who were different in their village of residence was significantly different. The analysis of communication factors affecting the communication efficiency of village headman in Khlong Hoi Khong District found that message senders, communication channels, and message receivers affected the communication efficiency of village headman in Khlong Hoi Khong Sub-district.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการรับรู้en_US
dc.subjectประสิทธิภาพการสื่อสารen_US
dc.subjectผู้ใหญ่บ้านen_US
dc.titleประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านจากการรับรู้ของประชาชนใน ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeCommunication Efficiency of Village Headman from the Perception of Residents in Klong Hoi Khong Sub-district, Khlong Hoi Khong District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้าน จากการรับรู้ของประชาชนในตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รวมไปถึง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้าน จากการรับรู้ของประชาชนใน ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยการสื่อสารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้าน ในอำเภอคลองหอยโข่ง กลุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป จากทั้งหมด7 หมู่บ้าน จำนวน 377 คน โดยการสุ่มตัวอย่างสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ซึ่งใช้การวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ระดับประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านจากการรับรู้ ของประชาชนในตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา อยู่ในระดับมาก ในขณะที่ ผลการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้าน จากการรับรู้ของประชาชนใน ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าประชาชนที่มี เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษาและอาชีพ แตกต่างกัน มีประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านจากการรับรู้ของประชาชนในตำบลคลองหอยโข่งแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ ส่วนหมู่บ้านที่อาศัย มีประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านจากการรับรู้ของประชาชนในตำบลคลองหอยโข่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และการวิเคราะห์ปัจจัยการสื่อสารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านในอำเภอคลองหอยโข่งรายด้าน พบว่า ผู้ส่งสาร ช่องทางการสื่อสาร และผู้รับสาร ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสื่อสารของผู้ใหญ่บ้านในตำบลคลองหอยโข่งen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
จุรีพร กินรี (2).pdf207.45 kBAdobe PDFView/Open
จุรีพร กินรี.pdf746.26 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons