กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17966
ชื่อเรื่อง: | ปัจจัยในห่วงโซ่คุณค่าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคสีเขียวในยุคเศรษฐประสบการณ์ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Contributory Factors in Value Chain towards Purchase Intention of Green Consumer in Experience Economy |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | พงศกร พิชยดนย์ ศศินันท์ ขุนทอง Faculty of Commerce and Management คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ |
คำสำคัญ: | ห่วงโซ่คุณค่า;ความเชื่อใจการไว้วางใจ;สินค้าเกษตรอินทรีย์;ความตั้งใจซื้อ;ความพอใจของผู้บริโภค |
วันที่เผยแพร่: | 2021 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
บทคัดย่อ: | The objective of this research was to study the contributory factors in value chain towards purchase intention of green consumer in experience economy and purchase intention of green consumer. The researcher used an online questionnaires as a research tool to collected data. 400 respondents were returned. 400 respondents. The general data were analyzed with descriptive statistic and analyzing the structural models with LISREL 8.80. The results of the research found that, Model of factors in value chain towards purchase intention of green consumer in experience economy and purchase intention of green consumer was consistent with empirical data, Considering the value of X2 = 0.68 , df = 2 , p = 0.71 GFI = 1.00 , AGFI = 0.99 , CFI = 1.00 , TLI = 1.00 , RMSEA = 0.00 , RMR = 0.001 , SRMR = 0.0037, Good of Fit Index (GIF) = 1.00, Adjust Goodness of Fit Index (AGFI) = 0.99, Comparative Fit Index (CFI) = 1.00, Tucker-Lewis Index (TLI) = 1.00, Standardized Root Mean Squared Residual (SRMR) = 0.0037 and Root Mean Squared Error of Approximation (RMSEA) = 0.00 |
Abstract(Thai): | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยในห่วงโซ่คุณค่าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคสีเขียวในยุคเศรษฐประสบการณ์ และศึกษาความตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคสีเขียวของกลุ่มผู้บริโภค การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์โมเดลเชิงโครงสร้างด้วยโปรแกรม LISREL 8.80 ผลการศึกษาพบว่า โมเดลปัจจัยในห่วงโซ่คุณค่าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคสีเขียวในยุคเศรษฐประสบการณ์ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาได้จากค่า X2 = 0.68 , df = 2 , p = 0.71 GFI = 1.00 , AGFI = 0.99 , CFI = 1.00 , TLI = 1.00 , RMSEA = 0.00 , RMR = 0.001 , SRMR = 0.0037 โมเดลมีความตรงเชิงโครงสร้างซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 1.00 ดัชนีระดับความกลมกลืนที่ปรับตัวแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.99 ดัชนีระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ (CFI) เท่ากับ 1.00 ค่าดัชนีความสอดคล้อง (TLI) เท่ากับ 1.00 ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของส่วนเหลือมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.0037 ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.00 |
รายละเอียด: | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ), 2564 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17966 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 942 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6250121010.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License