กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17965
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปราโมทย์ ทองสุข | - |
dc.contributor.author | อุไรวรรณ บุญส่ง | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-12T09:07:05Z | - |
dc.date.available | 2023-04-12T09:07:05Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17965 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | The COVID-19 pandemic is a critical global health situation. First-Line Nurse Administrators [FLNAs] perform important roles to manage the crisis in order to control and prevent harms for healthcare providers and clients. This descriptive research aimed to 1) study the levels of crisis management action [CMA] among FLNAs during the COVID-19 pandemic situation, and 2) compare the mean scores of CMA between groups of FLNAs. The study sample consisted of 168 FLNAs who worked for community hospitals in five border provinces was in Sothern Thailand and were selected by purposive sampling method, voluntarily. Data collection a conducted through self completed comprising two parts: a demographic and professional background and CMA part. the CMA questionnaire was approved by three experts, yielding the content validity index of .91. Its reliability was examined through Cronbrach’s alpha coefficient, giving a value of .96. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and ANOVA. The study results revealed that the mean of total scores of CMA during the COVID-19 pandemic situation among FLNAs was at a high level (M = 4.01, SD = 0.68) The score of emergency response aspect was highest (M = 4.18, SD = 0.73) Two significant differences were found in the comparison between groups of different professional background. Firstly, a group of FLNAs who experienced crisis management planning with external agencies reported higher CMA score (t = 3.05, p < .01). than a group of FLNAs without this experience. Secondly, FLNAs who worked in different areas showed significant differences in CMA mean scores (F = 5.06, p < .05). These findings are useful for nursing administrators encounter who crisis situation in the future in order to decrease negative impacts and improve safety for both provider and client sides. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การจัดการภาวะวิกฤติ | en_US |
dc.subject | ผู้บริหารการพยาบาล | en_US |
dc.subject | โควิด-19 (โรค) การแพร่ระบาด | en_US |
dc.title | การจัดการภาวะวิกฤติในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 ของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น โรงพยาบาลชุมชน 5 จังหวัดชายแดนใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Crisis Management during the Covid 19 Pandemic of First-Line Nurse Administrators in Community Hospitals, in Five Border Provinces, Southern Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Nursing Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล | - |
dc.description.abstract-th | การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 เป็นสถานการณ์วิกฤติด้านสุขภาพของ มนุษยชาติทั่วโลก ผู้บริหารการพยาบาลระดับต้นมีส่วนสำคัญในการจัดการภาวะวิกฤติโรคระบาดเพื่อ ควบคุมและป้องกันอันตรายต่อผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการสุขภาพ การวิจัยแบบบรรยายนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการจัดการภาวะวิกฤติในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 ของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น และเปรียบเทียบการจัดการภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ โควิด 19 ระหว่างผู้บริหารการพยาบาลต่างกลุ่มกัน คัดเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงและสมัครใจ คือ หัวหน้าหน่วยงานบริการพยาบาลทุกหน่วยงาน ของโรงพยาบาลชุมชน 5 จังหวัดชายแดนใต้ จำนวน 168 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยใช้แบบสอบถามมี 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นข้อมูลทั่วไปของกลุ่ม ตัวอย่าง ส่วนที่สองเป็นแบบสอบถามการจัดการในภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงเชิง เนื้อหาเท่ากับ .91 และตรวจสอบความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .96 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ ANOVA ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น โรงพยาบาลชุมชน 5 จังหวัด ชายแดนใต้ มีคะแนนเฉลี่ยการจัดการภาวะวิกฤติในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 โดยรวม (M = 4.01, SD = 0.68) และรายด้านทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (M = 4.18, SD = 0.73) เมื่อเปรียบเทียบระดับการจัดการภาวะวิกฤติการ แพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 โดยรวม ระหว่างกลุ่มผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น พบว่าผู้บริหารที่ มีประสบการณ์วางแผนจัดการภาวะวิกฤติกับหน่วยงานภายนอก มีคะแนนการจัดการภาวะวิกฤติใน สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 มากกว่ากลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (t = 3.05, p < .01) และพบว่าผู้บริหารการพยาบาลระดับต้นต่างหน่วยงานกัน มีคะแนนการ จัดการภาวะวิกฤติในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (F = 5.06, p < .05) ผลการวิจัยนี้เป็นประโยชน์กับผู้บริหารการพยาบาลใช้เป็นข้อมูลพัฒนาการจัดการภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อต่าง ๆ ในอนาคต เพื่อลดผลกระทบทางลบ และ ปลอดภัยของบุคลากรและผู้ใช้บริการ | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 649 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6210420055.pdf | วิทยานิพนธ์ เรื่อง การจัดการภาวะวิกฤติในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโควิด 19 ของผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น โรงพยาบาลชุมชน 5 จังหวัดชายแดนใต้ | 2.05 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License