Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17950
Title: วะสะฏียะฮฺ ความจำเป็น และแนวทางการจัดการความขัดแย้งที่เป็นผลมาจากความเห็นต่างในสังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Other Titles: Wasatiyyah: Its Necessity and Approach to Managing Conflicts Resulting from Disagreement in Thai Muslim Society in Three Southern Border Provinces
Authors: อีสมาแอ กาเต๊ะ
มนูศักดิ์ โต๊ะเถื่อน
Faculty of Islamic Sciences
คณะวิทยาการอิสลาม
Keywords: วะสะฏียะฮฺ;แนวทางการจัดการความขัดแย้งที่เป็นผลมาจากความเห็นต่าง;สังคมไทยมุสลิม;สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Issue Date: 2023
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: The objectives of this study were: 1) to study the concepts and the necessity of applying Wasatiyyah to differing opinions in Islam; 2) to study the causes and conditions of conflicts resulting from the differences in Thai-Muslim society in the three southern border provinces and 3) to study the ways to promote the application of Wasatiyyah for managing the conflicts from the disagreement in Thai Muslim society in the three southern border provinces. For such purposes, the qualitative methods were used by studying relevant documents and data and conducting in-depth interviews on the causes and conditions of conflict stemming from the disagreement in Muslim-Thai society in the three southernmost provinces. The 27 key informants from nine groups, with three members each, are represented by members of the Advisory Panel of the Shiekul Islam of Thailand, members of Islamic Committee of Thailand, members of Provincial Islamic Committee, members of Islamic Committee of masjids, executive members of Wasatiyyah institutions or centers, Muslim scholars in higher education institutions, instructors or proprietor of pondok educational institutions, administrators of private Islamic schools, intensive Islamic Studies lecturers and seminar speakers. The recruited informants were derived from a purposive method and nine participants were included for interviews. The instrument for data collection was semi-structured interviews. The qualitative data analysis procedures included counting methods, descriptive analysis, analytic induction, logical inference, defining and data comparison. The obtained data were summarised, presented in tables with accompanying explanations and categorized by issues. The results indicate that: 1) The concept and necessity of applying Wasatiyyah to managing the disagreement in Islam is the idea of driving the beliefs and thoughts of the Islamic preachers to be on a moderate Islamic approach, which is secure from extremism and slackness. It is a concept that recognizes and understands how to present Islam by focusing on evidence and accepting the use of reasoning, adhering to ideology and propriety, and considering reality with the ability to prioritize. It also concerns the flexibility in motivating and cautioning appropriately, emphasising on contents and matters, which cover various dimensions of life and attention to manners and etiquettes of respecting dissimilar views on Islamic principles. 2) The reasons for the differences of opinions about religious principles in ThaiMuslim society in the three southern border provinces arise from 3 main causes: 1) personal differences 2) evidential differences; and 3) differences in expressing opinions. Meanwhile, the conflicts resulting from such disagreements have affected Thai-Muslim society in the three southernmost provinces in two important areas, namely, the practice of religious principles and the unity of society. 3) Approaches to promoting the use of Wasatiyyah in the management of conflicts resulting from the disagreements in Thai-Muslim society in the three southern border provinces can be classified into 6 areas as follows: 1) Having sincerity and anticipating truth from different opinions, 2) Having a positive attitude towards dissenters, 3) Expressing different opinions with good manners, 4) Studying and reviewing the issues of disputes, 5) Being fair to oneself and not clinging to a particular view, and 6) Considering the proprieties and common interests.
Abstract(Thai): การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดและความจ าเป็นในการปรับใช้วะสะฏียะฮฺใน ความเห็นต่างในอิสลาม 2) ศึกษาสาเหตุและสภาพความขัดแย้งที่เป็นผลมาจากความเห็นต่างใน สังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 3) ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างการปรับใช้วะ สะฏียะฮฺในการจัดการความขัดแย้งที่เป็นผลมาจากความเห็นต่างในสังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้โดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพจากการศึกษาข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องและการ สัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จ านวน 27 คน จาก 9 กลุ่ม ๆ ละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจุฬาราชมนตรี คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย คณะกรรมการอิสลาม ประจ าจังหวัด คณะกรรมการอิสลามประจ ามัสยิด คณะกรรมการสถาบันหรือศูนย์วะสะฏียะฮฺ นักวิชาการมุสลิมในสถาบันอุดมศึกษา โต๊ะครูหรือเจ้าของสถาบันการศึกษาปอเนาะ ผู้บริหารโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม และวิทยากรอิสลามศึกษาแบบเข้ม และจัดประชุมอิงผู้ทรงคุณวุฒิโดยใช้ วิธีการแบบเจาะจงและเป็นตัวแทนจากกลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลการสัมภาษณ์จ านวน 9 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ วิธีการนับ จ านวน วิเคราะห์เชิงพรรณนา วิเคราะห์แบบอุปนัย การเชื่อมโยงเชิงตรรกะ การให้ความหมาย และ การเปรียบเทียบข้อมูล โดยน าข้อมูลที่ได้มาสร้างเป็นข้อสรุปและน าเสนอในรูปตารางประกอบความ เรียงและการจัดกลุ่มข้อมูลที่ได้สรุปตามประเด็น ซึ่งผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดและความจ าเป็นในการปรับใช้วะสะฏียะฮฺในความเห็นต่างในอิสลาม คือ แนวคิดใน การขับเคลื่อนความเชื่อและความคิดของผู้น าเสนอค าสอนอิสลามให้อยู่บนแนวทางอิสลามสายกลาง ซึ่งปลอดภัยจากความสุดโต่งและความหย่อนยาน เป็นแนวคิดที่ตระหนักรู้และเข้าใจวิธีการน าเสนอ อิสลาม โดยให้ความส าคัญต่อหลักฐานและยอมรับการใช้สติปัญญา ยึดมั่นในอุดมการณ์ ความถูกต้อง และค านึงถึงสภาพความเป็นจริงโดยสามารถจัดล าดับความส าคัญก่อนหลัง มีความยืดหยุ่นในการ สร้างแรงจูงใจและการส าทับอย่างเหมาะสม ให้ความส าคัญต่อเนื้อหาและสาระที่ครอบคลุมมิติต่าง ๆ ของชีวิต รวมถึงให้ความใส่ใจต่อเรื่องบุคลิกภาพและมีมารยาทในการเคารพความเห็นต่างในหลักค า สอนของอิสลาม 2. สาเหตุความเห็นต่างเกี่ยวกับหลักการศาสนาในสังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้เกิดขึ้นจาก 3 สาเหตุคือ 1) ความแตกต่างด้านตัวบุคคล 2) ความแตกต่างด้านหลักฐาน และ 3) ความแตกต่างด้านการแสดงความเห็น ขณะที่สภาพความขัดแย้งที่เป็นผลมาจากความเห็นต่างได้ ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้2 ด้านส าคัญ คือ ด้านการปฏิบัติตาม หลักการศาสนาและด้านความเป็นเอกภาพของสังคม 3. แนวทางการเสริมสร้างใช้วะสะฏียะฮฺในการจัดการความขัดแย้งที่เป็นผลมาจากความเห็น ต่างในสังคมไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จ าแนกเป็น 6 ด้าน คือ 1) ด้านการมีความ บริสุทธิ์ใจและการมุ่งหวังสัจธรรมจากความเห็นต่าง 2) ด้านการมีทรรศนะคติเชิงบวกต่อผู้เห็นต่าง 3) ด้านการแสดงความเห็นต่างด้วยมารยาทที่ดีงาม 4) ด้านการศึกษาและทบทวนประเด็นที่มี ความเห็นต่าง 5) ด้านการให้ความเป็นธรรมต่อตนเองและไม่ยึดติดทรรศนะ และ 6) ด้านการค านึงถึง ความถูกต้องและผลประโยชน์ส่วนรวม
Description: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (อิสลามศึกษา), 2566
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17950
Appears in Collections:761 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6220430006.pdf10.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons