Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17940
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศศิธร ลายเมฆ | - |
dc.contributor.author | นันทชนม์ เพ็ชรประสิทธิ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-04-07T06:27:46Z | - |
dc.date.available | 2023-04-07T06:27:46Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17940 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ ((พย.ม. (การบริหารทางการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2565 | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this quasi-experimental research was to study the effect of using a simulation-based learning (SBL) program toward enhancing knowledge and communication skills for patient safety of perioperative nurses. Twelve professional nurses working in the operating room, Trang Hospital, were purposively recruited. The instruments used in the research were 1) the experimental instrument consisting of SBL program to enhance knowledge and communication skills among perioperative nurses in 3 scenarios, validated by 5 experts and 2) the tools used to collect data: demographic questionnaires, safety communication knowledge assessment, and communication skill observation for patient safety. The communication knowledge assessment was validated by 5 experts. The content validity index was 0.81. The reliability test was done using Kuder-Richardson 20 and yielded a value of 0.80. Data were analyzed using frequency and Wilcoxon Signed Rank Test. The result showed that the knowledge and communication skill of perioperative nurses after using the SBL program was significantly increased at .05 (Z = -2.836, p = .005). Among perioperative nurses had 91.67 percent had an increase in knowledge on cooperation and 83.33 percent had increased on promotion of continuous care. After using the SBL program for enhancing knowledge and communication skills required for safety, all nurses had full scores on practice of all items of “patient monitoring” and “maintaining continuity of care during care transition”; and 83.33 percent had full scores on the “aspect of coordination of care”. This research shows that SBL program can enhance perioperative nurses’ knowledge and communication skills for patient safety. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | พยาบาลห้องผ่าตัด | en_US |
dc.subject | ทักษะการสื่อสาร | en_US |
dc.title | ผลการใช้โปรแกรมการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จำลองต่อความรู้และทักษะการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด | en_US |
dc.title.alternative | Effects of the Simulation-Based Learning Program Toward Knowledge and Communication Skills for Patient Safety of Perioperative Nurses | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Nursing Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จ าลองต่อความรู้และทักษะการ สื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลตรังจำนวน 12 คน คัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จ าลองเรื่องการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้อง ผ่าตัด 3 สถานการณ์ ที่ผ่านการให้ความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน แล้วน าไปทดลองใช้กับ พยาบาลที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจ านวน 2 คน 2) เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความรู้เรื่องการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด และแบบสังเกต ทักษะการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด โดยแบบประเมินความรู้เรื่องการ สื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลห้องผ่าตัด ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ได้ค่า CVI ที่ 0.81 ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสถิติ Kuder-Richardson 20 ได้ค่า ความเที่ยง 0.80 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติWilcoxon Signed Rank Test ผลการศึกษาพบว่าความรู้เรื่องการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยของ พยาบาลห้องผ่าตัดหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จ าลองเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติ (Z = -2.836, p = .005) โดยคะแนนความรู้ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยเพิ่มขึ้นมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 91.67 รองลงมาคือด้านการประสานความร่วมมือ และด้านการส่งเสริมการดูแล อย่างต่อเนื่อง เพิ่มขึ้นเท่ากันคือร้อยละ 83.33 และหลังการร่วมโปรแกรมสถานการณ์จ าลองพบว่า พยาบาลมีคะแนนทักษะการสื่อสารด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยและด้านการส่งเสริมการดูแลอย่างต่อเนื่อง มากที่สุดร้อยละ 100 เท่ากันทั้ง 2 ด้าน ส่วนคะแนนด้านทักษะการประสานความร่วมมือคือร้อยละ 83.33 ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จำลอง สามารถส่งเสริมให้พยาบาลห้องผ่าตัดมีความรู้ในการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยผู้ป่วยเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | 649 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310420015.pdf | Effects of the Simulation-Based Learning Program Toward Enhancing Knowledge and Communication Skills for Patient Safety of Perioperative Nurses | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License