กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17923
ชื่อเรื่อง: Medical Tourism Behaviors of Chinese Tourists: A Case of Private Hospitals in Phuket
ชื่อเรื่องอื่นๆ: พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของนักท่องเที่ยวชาวจีน: กรณีศึกษาโรงพยาบาลเอกชนในภูเก็ต
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: De Jong, Pim
Wathanyuta Chanarat
Faculty of International Studies
คณะวิเทศศึกษา
คำสำคัญ: Medical Tourism;Chinese Tourist;Private Hospital in Phuket
วันที่เผยแพร่: 2021
สำนักพิมพ์: Prince of Songkla University
บทคัดย่อ: The Thai government has focused on medical tourism since 2004 by establishing a policy to promote Thailand to become an international medical hub. The movement of medical tourism in Thailand is found in the government sector and is driven by medical services from private hospitals in Thailand. The Department of Health Service Support was also assigned to provide a development strategy for Phuket to be an international health center (Medical Hub). Therefore, the objectives were to study the factors influencing Chinese tourists who travel to Phuket for medical tourism. The theories and concepts about tourist behaviors guide analyzing patterns, purposes, and influencing factors to receive medical tourism services in this research, data collection located in Bangkok Hospital Phuket and Bangkok Hospital Siriroj. The key informant used in this study was 20 Chinese tourists who received medical tourism services, and the in-depth interview method was applied by collecting data. A case study of the qualitative research method was using semantic analysis data. The results presented the factors influencing Chinese tourists, who travel to Phuket for medical tourism, were marketing promotion of medical tourism products, motivation, buying decision–making by receiving medical tourism information, experience, attitude, evaluation of alternatives primarily based on price.
Abstract(Thai): รัฐบาลไทยให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมาตั้งแต่ปี 2547 โดยกำหนด นโยบายส่งเสริมประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ระดับนานาชาติ การเคลื่อนไหวของการ ท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ในประเทศไทยพบได้ในภาครัฐและขับเคลื่อนด้วยบริการทางการแพทย์จาก โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย นอกจากนี้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพยังได้รับมอบหมายให้จัดทำ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ดังนั้นจึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้บริการทางการแพทย์จากโรงพยาบาลในจังหวัดภูเก็ต เพื่อศึกษาปัจจัยที่ มีอิทธิพลต่อนักท่องเที่ยวชาวจีนมาท่องเที่ยวเชิงบริการทางการแพทย์ในภูเก็ต ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับแนวทางพฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่วิเคราะห์รูปแบบ วัตถุประสงค์และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการได้รับบริการทางการแพทย์ในการวิจัยครั้งนี้การรวบรวม ข้อมูลในโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ตและโรงพยาบาลสิริโรจน์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักท่องเที่ยวชาวจีนจำนวน 20 คนที่เข้ารับบริการการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิง ลึกโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา โดยใช้ข้อมูลเชิงการวิเคระห์ แบบเชิงความหมาย ผลการวิจัยนำเสนอปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางมาท่องเที่ยวเชิง การแพทย์ในจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ การส่งเสริมการตลาดของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ แรงจูงใจการตัดสินใจซื้อโดยรับข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ประสบการณ์ทัศนคติการประเมิน ทางเลือกโดยพิจารณาจากราคาเป็นหลัก
รายละเอียด: M.A., Chinese Studies (International Program))--Prince of Songkla University, 2021
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17923
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:805 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
6030321002.pdf2.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons