Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17900
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อุมาพร ปุญญโสพรรณ | - |
dc.contributor.author | พัชรี คมจักรพันธุ์ | - |
dc.contributor.author | ภัทรพร กิจเรณู | - |
dc.date.accessioned | 2023-03-08T03:17:54Z | - |
dc.date.available | 2023-03-08T03:17:54Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17900 | - |
dc.description.abstract | Qualitative : Peritoneal dialysis (PD) is recommended as the dialysis treatment of choice for chronic kidney disease persons (CKD) persons without significant comorbid conditions or those with residual kidney function. This grounded theory research aims to describe the process by which CKD persons harmonize their lives with peritoneal dialysis. Individual interviews were conducted with 37 CKD person with peritoneal dialysis. Data were collected from April 2018 to January 2019 at PD Units of two large hospital in southern Thailand. In this grounded theory study, data were analyzed using constant comparative and coding analysis methods. We found that "reconciling to the near normal" was the core category. This basic psychosocial process composed of three strategies, maintaining one's life purpose', 'managing existing support', and 'adhering to clinical suggestion'. Factors contributing to harmony in life with PD are 1) desire for independent, 2) fear of complication, and 3) religious faith. Consequences of harmony in life with PD are 1) feel empowered, 2) lessen caregiver dependency, and 3) better health condition. Nurses and renal health care team should encourage family members to support and be involved in the process of harmony in life with peritoneal dialysis. Quantitative : This descriptive research aims to study the harmony in the life of chronic kidney disease (CKD) persons with peritoneal dialysis. The sample consisted of 119 CKD persons with peritoneal dialysis from two hospitals in southern Thailand. The samples were selected by purposive sampling from patients aged 18 years and over, receiving peritoneal dialysis for at least 1month, good conscious and no cognitive impairment. The instrument used for data collection was a questionnaire consisting of 2 parts: part 1, personal data recording form, part 2, balance in life assessment form with 3 dimensions, namely physical, economic and psycho-social section. Data were collected from April- September 2018 and were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation. The results of the research showed that the sample group aged 22-86 years (x ̅ = 52.91, SD = 13.02) had a high average score of harmony in life ( x ̅ = 2.37, SD = .31). The highest average score is harmony in terms of physical life x ̅ = 2.49, SD = .36) and the lowest average score is economic harmony ( x ̅ = 2.15, SD = 43). It is recommended to promote economic harmony and strengthening the primary caregiver and family to increase harmony in life of CKD persons with peritoneal dialysis | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | ไต โรค | en_US |
dc.subject | ไต โรค ผู้ป่วย | en_US |
dc.title | กระบวนการมีสมดุลชีวิตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง | en_US |
dc.title.alternative | Process in Achieving Harmony in Life of Chronic Kidney Disease Persons with Peritoneal Dialysis | en_US |
dc.title.alternative | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ กระบวนการมีสมดุลชีวิตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Public Health Nursing) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยเชิงคุณภาพ : การล้างไตทางช่องท้อง เป็นการรักษาทางเลือกของการรักษาแทนไตสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญหรือผู้ที่ยังมีไตส่วนที่ทำหน้าที่ได้เหลืออยู่ วิธีวิทยาการสร้างทฤษฎีฐานรากนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกระบวนการสมดุลชีวิตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง จำนวน 37 คน ตั้งแต่เดือนเมษายน 2561 ถึงมกราคม 2562 ที่หน่วยล้างไตทางหน้าช่องท้องโรงพยาบาลสองแห่งในภาคใต้ของประเทศไทย วิเคาระห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบอย่างต่อเนื่อง ผลการศึกษาพบว่า สมดุลชีวิตคือการกลับสู่ชีวิตที่ “เกือบปกติ” กระบวนการสมดุลชีวิตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้องเป็นกระบวนการทางสังคมขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 กลวิธี คือ ‘การทบทวนและคงไว้ซึ่งเป้าหมายชีวิต’, ‘การรวบรวมแรงสนับสนุนที่มีอยู่’ และ’การยึดถือแนวปฏิบัติตัวเมื่อต้องล้างไตทางช่องท้อง’ ปัจจัยเงื่อนไขของการเกิดกระบวนการคือ ความอยากเป็นอิสระ ความกลัวภาวะแทรกซ้อน และความยึดมั่น ศรัทธาในศาสนา โดยผลสืบเนื่องหลังจากเกิดกระบวนการสมดุลชีวิตคือ การมำลังมีกำลังใจ ลดการพึ่งพาผู้ดูแล และภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น พยาบาลและทีมผู้ให้บริการสุขภาพแก่ผู้ป่วยโรไตเรื้อรัง ควรมีส่วนร่วมและส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในกระบวนการมีสมดุลชีวิตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง งานวิจัยเชิงปริมาณ : การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสมดุลชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง ที่มารับการรักษาที่คลินิกโรคไต ที่โรงพยาบาล 2 แห่งในภาคใต้ รวมจำนวน 119 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากผู้ป่วยนอายุ 18 ปีขึ้นไป รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างน้อย 1 เดือน รู้สึกตัวดี ไม่มีความผิดปกติด้านการรับรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบประเมินสมดุลชีวิต 3 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านเศรษฐกิจ และด้านจิต-สังคม เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนกันยายน 2561 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างอายุ 22-86 ปี ( x ̅ = 52.9 1. SD = 13.02) มีคำเฉลี่ยะแนนสมดุลชีวิตโดยรวมในระดับสูง ( x ̅ = 2.37, SD = .31) โดยมีค่าเฉลี่ยสมดุลชีวิตด้านร่างกายสูงที่สุด ( x ̅ = 2.49, SD - .36) และมีสมดุลชีวิตด้านเศรษฐกิจต่ำที่สุด ( x ̅ = 2.15. SD - .43) การศึกษานี้ขี้ให้เห็นว่า สมดุลชีวิตด้านเศรษฐกิจยังเป็นประเด็นที่ผู้ป่วยโรคโดเรื้อรังที่มีการล้างใตทางช่องท้องต้องได้รับการช่วยเหลือ การเพิ่มความเข้มแข็งให้กับผู้ดูแลหลักและครอบครัวจะเป็นพลังเสริมที่ช่วยเพิ่มสมดุลชีวิตให้ผู้ป่วยโรคใตเรื้อรังที่มีการล้างไตทางช่องท้องกลุ่มนี้ | en_US |
Appears in Collections: | 610 Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
452805-abstract.pdf | 346.4 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.