Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวินีกาญจน์ คงสุวรรณ-
dc.contributor.authorธิชามณฑน์ สวนกระจ่าง-
dc.date.accessioned2023-03-03T08:36:43Z-
dc.date.available2023-03-03T08:36:43Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17892-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต,2565en_US
dc.description.abstractThis predictive research aimed to study the level of capabilities for care operation and factors predicting caregivers' capabilities for care operation for persons with substance-induced psychosis. The sample comprised 120 primary caregivers of persons with substance-induced psychosis at Thanyarak Songkhla hospital and Thanyarak Pattani hospital. The research instrument consisted of 8 parts: (1) general information of caregivers, (2) general information for persons with substance induced psychosis, (3) perception of health status of caregivers, (4)perceptions of illness severity, (5) social support, (6) family relationships, (7) caregivers' capabilities for care operating for persons with substance induced psychosis, and (8) negative expressed emotion. The content validity of the instruments was verified by five experts. The content validity index of part 4 and 7 were 1.00, and .87 respectively. The reliability of part 4 to 8 was tested. The sample yielded Cronbach’s alpha coefficient of .86, .81, .90, .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics. The predictability was analyzed using standard multiple regression analysis (Enter Method). The result showed that capabilities for care operation for persons with substance induced psychosis was at moderate level (M = 3.40, SD = 0.41). Predictive factors could explain 36.5 percent of the variance (R² = .365, p< .05). For consideration, the factors that significantly predicted were perceptions of illness severity (ß = .513, p< .05), family relationships (ß = .391, p< .05), age (ß = .235, p< .05), and social support (ß = .200, p< .05). The results of this study could be used as basic information to develop nursing programs to promote caregivers' capabilities for care operation for persons with substance induced psychosis.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการค้นคว้าวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ ปีงบประมาณ 2563 บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectผู้ดูแล, ความสามารถในการดูแลen_US
dc.subjectผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วมen_US
dc.subjectคนติดยาเสพติดen_US
dc.subjectการดูแลสุขภาพจิตen_US
dc.titleปัจจัยทำนายความสามารถในการปฎิบัติเพื่อการดูแลของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วมen_US
dc.title.alternativeFactors Predicting Caregivers' Capabilities for Care Operation for Persons with Substance-Induced Psychosisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Psychiatric Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช-
dc.description.abstract-thการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการปฏิบัติเพื่อการดูแลและศึกษาปัจจัยทำนายความสามารถในการปฏิบัติเพื่อการดูแลของผู้ดูแล ผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ดูแลหลักที่ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วมที่มารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลาและโรงพยาบาลธัญญารักษ์ปัตตานี จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 8 ส่วนคือ (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วม (2) ข้อมูลทั่วไปของผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วม (3) การรับรู้ภาวะสุขภาพของผู้ดูแล (4) การรับรู้ความรุนแรงของโรค 5) การสนับสนุนทางสังคม (6) สัมพันธภาพในครอบครัว (7) ความสามารถในการปฏิบัติเพื่อการดูแลของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วม และ (8) การแสดงออกทางอารมณ์ด้านลบซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือส่วนที่ 4 และ 7 เท่ากับ 1.00, และ.87 ตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือส่วนที่4 ถึง 8 โดยคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเท่ากับ .86, .81, .90, .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์ปัจจัยทำนายโดยใช้สถิติถดถอยพหุคูณแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วมมีระดับความสามารถในการปฏิบัติเพื่อการดูแลโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 3.40, SD = 0.41) ตัวแปรปัจจัยทำนายสามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 36.5 (R² = .365, p< .05) โดยตัวแปรที่สามารถทำนายความสามารถในการปฏิบัติเพื่อการดูแลของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ การรับรู้ความรุนแรงของโรค (ß = .513, p< .05) สัมพันธภาพในครอบครัว (ß = .391, p< .05) อายุ (ß = .235, p< .05) และการสนับสนุนทางสังคม (ß = .200, p< .05) ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติเพื่อการดูแลของผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติดที่มีอาการทางจิตร่วมต่อไปen_US
Appears in Collections:647 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6010420024.pdf.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons