Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17852
Title: Citizen Engagement in a Smart City: A Case Study of Phuket, Thailand
Other Titles: การมีส่วนร่วมของประชาชนในสมาร์ทซิตี้: กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต, ประเทศไทย
Authors: Chantinee Boonchai
Phanaranan Sontiwanich
Faculty of Technology and Environment
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
Keywords: Civic Culture;Social Capital;Public-Private-People Partnership;Sustainable Development;Urban Sustainability;City planning
Issue Date: 2022
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: Citizen engagement is a crucial strategy in smart city development. This study highlights how citizen engagement contributes to smart city initiatives and outcomes. The study examined how smart city projects worldwide engaged citizen and dug deeper into the citizen engagement process using Phuket, Thailand as a case study. The research used a pragmatic approach comprising of a desktop research, observations, semi-structure interviews and surveys. The data included 123 articles on Scopus documents between 2014 and 2019 with updated documents in 2021,17 official smart city websites, observation notes from 49 Phuket smart city and related meetings, 12 stakeholder interviews and 409 questionnaires collected during April to September 2018. The findings compose of five parts following five research questions. The first question on citizen engagement as part a characteristic of a smart city is addressed through causal loop diagrams of citizen engagement in a smart city framework and its subsystems. The second question on the usage of open data platforms in relation to citizen engagement highlights four main purposes namely environmental monitoring and management, city data service, citizen feedback, and citizen support and empowerment. The third question analyzes and classifies the citizen engagement strategies from 17 smart cities before and after the COVID-19 pandemic. The fourth question describes how citizen engagement was perceived and contributed to the evolution of Phuket smart city development. The last question shows the level of awareness and engagement of Phuket residents in Phuket smart city. The study concludes that active citizen engagement requires participatory governance and collaborative culture of all stakeholders, especially youth, elderly and marginalized groups in order to ensure smart city implementation that is inclusive and socially. Meaningful efforts to improve the trust and interactive communication between city administrators and citizen need to be prioritized as a central process guiding the smart city planning and development.
Abstract(Thai): ‘การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน’ คือ กลยุทธ์ที่ส าคัญในการพัฒนาสมาร์ทซิตี้ การศึกษานี้ให้ความส าคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการรเรมและผลสมฤทธของโครงการ สมาร์ทซิตี้โดยใช้การวิเคราะห์แนวทางการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในโครงการสมาร์ทซิตี้ของ เมืองต่างๆทั่วโลกและวิเคราะห์เชิงลึกของกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนโดย ใช้จังหวัดภูเก็ตในประเทศไทยเป็นกรณีศึกษา งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ ซึ่งประกอบด้วย การ ค้นคว้าเอกสาร การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และ การท าแบบส ารวจ ข้อมูลที่ ประกอบด้วยบทความในฐานข้อมูลวารสารระดับนานาชาติ (Scopus) รวมทั้งสิ้น 123 บทความซึ่ง ตีพิมพ์ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 ถึง 2562 และค้นหาเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2564 เว็บไซด์อย่างเป็น ทางการของสมาร์ทซิตี้จาก 17 เมืองทั่วโลก บันทึกจากการสังเกตการณ์ในการประชุมภูเก็ตสมาร์ท ซิตี้และงานประชุมที่เกี่ยวข้อง 49 ครั้ง การสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 12 คน และ แบบสอบถามจ านวน 409 ชุด ซึ่งด าเนินการในระหว่างเดือนเมษายน ถึง กันยายน พ.ศ. 2561 ผลการศึกษาแบ่งออกเป็น 5 ประเด็น ซึ่งเชื่อมโยงกับค าถามงานวิจัยหลัก 5 ข้อ ดังนี้ ส่วนแรก แสดงให้เห็นว่าการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเป็นส่วนส าคัญของสมาร์ทซิตี้ โดย ใช้การวิเคราะห์เชิงระบบ ซึ่งอธิบายผ่านแผนภาพความเชื่อมโยงเหตุและผลของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับสมาร์ทซิตี้ ส่วนที่สอง แสดงให้เห็นถึงการใช้ฐานข้อมูลแบบเปิดเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชนซึ่งมี 4 รูปแบบหลัก คือ การเฝ้าระวังและจัดการสิ่งแวดล้อม ข้อมูลเกี่ยวกับเมือง การสะท้อนความคิดเห็นของประชาชน และ การสนับสนุนและเพิ่มอ านาจให้กลุ่มเปราะบาง ส่วนที่ สาม แสดงกลยุทธ์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในสมาร์ทซิตี้ 17 เมือง ทั่วโลกทั้งก่อน และหลังการระบาดของโรค COVID-19 ส่วนที่สี่ แสดงถึงการด าเนินการสร้างการมีส่วนร่วมของ ภาคประชนในแนวทางการพัฒนาภูเก็ตสมาร์ทซิตี้ และ ส่วนสุดท้าย แสดงระดับความตระหนักและการรับรู้ในการมีส่วนร่วมของประชาชนในจังหวัดภูเก็ต การมีส่วนร่วมของ ภาค ประชาชน ในการพัฒ นา สมาร์ทซิตี้ ต่อ ภูเก็ตสมาร์ทซิตี้ งานวิจัยนี้สรุปได้ว่า จ าเป็นจะต้องได้รับการสนับสนุนจาก การ บริหารจัดการของภาครัฐแบบมีส่วนร่วมและ การสร้าง วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมจากทุก ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้สูงอายุ และ กลุ่ม สมาร์ทซิตี้ ที่ส่งเสริม ความเท่าเที ชุมชน ชายขอบ ๆ ภาคส่วน เพื่อให้เกิด ยมกันในสังคม นอกจากนี้การสร้างความไว้ใจและปฎิสัมพันธ์ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชน ยัง วางแผนและการพัฒนาสมาร์ทซิตี้
Description: Doctor of Philosophy (Environmental Management Technology (International Program)), 2022
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17852
Appears in Collections:978 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5830231001.pdf7.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons