Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17839
Title: | สภาพและแนวทางการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาแบบมักตับของ โรงเรียนดารุลบารอกะฮฺ จังหวัดปัตตานี |
Other Titles: | States and Guidelines for Maktap Islamic Studies Curriculum Administration of Darulbarakah School, Pattani Province |
Authors: | นิเลาะ แวอุเซ็ง อาอีชะฮ์ ยานยา Faculty of Islamic Sciences คณะวิทยาการอิสลาม |
Keywords: | อิสลามศึกษาแบบมักตับ;หลักสูตรอิสลามศึกษา |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | This study aimed to examine the states of Maktap Islamic studies curriculum administration of Darulbarakah school, Pattani province and to propose guidelines for Maktap Islamic studies curriculum administration of the school. This qualitative study applied an approach called a case study. The data was collected through interviews and focus groups and questionnaire. The key informants consist 2 from school administrators, 3 religiousus academic department staff, a participant from Tarbiyah department and 9 Islamic Studies teachers, totaling 15 participants. The data was analyzed based on content analysis and percentage. The findings of this study are as follows: 1( In general, the Maktap Islamic Studies curriculum is well operated whether in terms of the curriculum preparation, the curriculum implementation plan and the curriculum administration. Rather, teachers have good understanding of the curriculum. However, there are some problems encountered especially in terms of supervision, monitoring, follow-up and evaluation. 2( In regard to guidelines for development of the Maktap Islamic studies curriculum, the problems mostly encountered are concerned with supervision, monitoring, following-up and evaluation. Those in charge of religious academic affairs and Tarbiyah program are not able to carry out supervision in the same time. The proposed guideline then is to appoint those equipped with knowledge and expertise in Islamic studies curriculum and supervision to be specifically responsible for supervising Islamic studies for the most efficient operation. |
Abstract(Thai): | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1( เพื่อศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษา แบบมักตับของโรงเรียนดารุลบารอกะฮฺ จังหวัดปัตตานี 2( เพื่อเสนอแนวทางการบริหารหลักสูตร อิสลามศึกษาแบบมักตับของโรงเรียนดารุลบารอกะฮฺ จังหวัดปัตตานี การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง คุณภาพแบบกรณีศึกษา ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ แบบการสนทนากลุ่มและ แบบสอบถาม ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ 1( ผู้บริหารโรงเรียน จ านวน 2 คน 2( ฝ่ายวิชาการศาสนา จ านวน 3 คน 3( ฝ่ายตัรบียะฮฺ จ านวน 1 คน และ 4( ครูอิสลามศึกษา จ านวน 9 คน รวมทั้งหมด 15 คน ใช้ วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูล และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1( สภาพโดยรวมของการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาแบบมักตับตามโครงการ ดังกล่าวนั้น พบว่า ด้านการเตรียมความพร้อมบริหารหลักสูตร ด้านการวางแผนด าเนินการใช้ หลักสูตร และด้านการด าเนินการบริหารหลักสูตร ซึ่งโดยภาพรวมแล้วครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรเป็นอย่างดี เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านการนิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผล ยังคงมีปัญหาในการด าเนินการ 2( แนวทางการพัฒนาการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาแบบมักตับ ตามโครงการ ดังกล่าว พบว่าปัญหาที่พบมากที่สุด คือ ด้านการนิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผล ฝ่ายนิเทศโดย ฝ่ายวิชาการศาสนาและฝ่ายตัรบียะห์ไม่สามารถลงนิเทศในเวลาเดียวกันได้ แนวทางการพัฒนา คือ ควรแต่งตั้งฝ่ายนิเทศด้านอิสลามศึกษาโดยตรง โดยคัดเลือกผู้ที่มีความรู้และเชี่ยวชาญด้านหลักสูตร อิสลามศึกษาและการนิเทศเพื่อให้การด าเนินงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด |
Description: | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2564 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17839 |
Appears in Collections: | 761 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6120420110.pdf | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License