Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17682
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรวดี อึ้งโพธิ์ | - |
dc.contributor.author | สุขสันต์ สกุลสวน | - |
dc.date.accessioned | 2022-11-23T03:30:01Z | - |
dc.date.available | 2022-11-23T03:30:01Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17682 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนามนุษย์และสังคม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564 | en_US |
dc.description.abstract | This research aimed to study the situation and context in the display of mangs in Southern border provinces area and study guidelines for the conservation of malong shows in the southern border provinces It is a qualitative study. Data collection methods were used by semi-structured interviews with the main informantincluding actor Mayong the scholars promote the local culture religious leader, philosopher, villager and the heir of actor Mayong. The data were analyzed by analyzing the content by using logic to compare the concepts, theories and research together with the context. The research results are as follows 1. The current research was aimed at exploring the situation and context of Mak Yong performance in the areas of southern border provinces of Thailand.This qualitative research investigated the 6 popular Mak Yong performers in the areas. A semi-structure interview form was used as a tool to conduct phenomenological research seeking to understand the situation occurred. The results suggested that Mak Yong performance in these southern border provinces currently remains in Pattani, Yala, and Narathiwat provinces. Four ensembles were found to continue their performance. Today, the performance is of 2 types, namely: 1) performance for entertainment in festive events; and 2) performance for ritual events.The phenomenon happened in the areas of Mak Yong performance, the approach of globalization trend, and the address of religious principles gave rise to limitations that resulted in the gradual decline of Mak Yong performance. As the modern society offered people’s diverse choices for their pleasure, traditional arts and cultures became deprived of support and audiences.Moreover, violence and insurgency also impacted on the change of people’s way of life in these areas. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Mak Yong Performance, Conserving | en_US |
dc.subject | ศิลปะการแสดงไทย | en_US |
dc.subject | การละเล่นไทย | en_US |
dc.subject | มะโย่ง | en_US |
dc.title | แนวทางในการอนุรักษ์การแสดงมะโย่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for Conserving of Mak Yong Performance in Border Southern Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Liberal Arts (Educational Foundation) | - |
dc.contributor.department | คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และบริบทการแสดงมะโย่งในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ และศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์การแสดงมะโย่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็น การศึกษาเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างกับผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ นักแสดงมะโย่ง นักวิชาการส่งเสริมวัฒนธรรมของท้องถิ่น ผู้นําศาสนาปราชญ์ชาวบ้าน และ ทายาทของนักแสดงมะโย่ง แล้วนํามาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาโดยใช้หลักตรรกะ เทียบเคียงแนวความคิด ทฤษฏี และงานวิจัยควบคู่บริบทแล้วนํามาเรียบเรียงพรรณนาปรากฏการณ์ที่ ศึกษา ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. การแสดงมะโย่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงมีการแสดงอยู่ใน จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีจํานวนคณะมะโย่งอยู่ทั้งหมด 4 คณะที่ยังทําการแสดงอยู่ การ แสดงปัจจุบันแยกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) การแสดงเพื่อความบันเทิงในงานรื่นเริงต่าง ๆ 2) การ แสดงเพื่อประกอบพิธีกรรม ความเชื่อ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับพื้นที่การแสดงมะโย่ง การเข้ามาของ กระแสโลกาภิวัฒน์ การพูดถึงในเรื่องของหลักศาสนาทําให้เกิดข้อจํากัดต่าง ๆ ขึ้น ส่งผลให้การแสดง มะโย่งค่อย ๆ ลดลง 2.แนวทางในการอนุรักษ์การแสดงมะโย่งจะจําแนกออกเป็น 2 ประเด็น คือ การ อนุรักษ์การแสดงมะโย่งในรูปแบบดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต่อดีต การนําศิลปะการแสดงมะโย่งมาบรรจุใน บทเรียนหลักสูตรท้องถิ่นการจัดบันทึกวีดีโอการแสดงทั้งการแสดงในรูปแบบพิธีกรรม และการแสดง เพื่อความบันเทิง การจัดทําชุดแต่งกาย เครื่องดนตรี บทละคร ของการแสดงมะโย่งแบบดั้งเดิมไว้การ พัฒนาการแสดงมะโย่งให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่การใช้ภาษาอื่นที่เข้าถึงกลุ่มผู้ชมในการแสดงของแต่ละ พื้นที่และโอกาส พัฒนารูปแบบการแสดงทั้งเนื้อเรื่อง การขับร้อง การแต่งกาย ฯลฯ ยังคงรูปแบบเดิม เพิ่มเครื่องดนตรีที่ทันสมัย บทละครที่ทันสมัยขึ้น การแต่งกายที่ทันสมัยขึ้นใช้สื่อรูปแบบใหม่ให้เกิด ประโยชน์ให้ผู้นับถือศาสนาอื่นนอกเหนือจากศาสนาอิสลามเป็นผู้สานต่อหน้าที่การอนุรักษ์การแสดง มะโย่งให้คงอยู่ | en_US |
Appears in Collections: | 895 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5811120012.pdf | 10.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License