Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17586
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุรีรัตน์ บัวแก้ว-
dc.contributor.authorเกื้อ ฤทธิบูรณ์-
dc.contributor.authorโสภา เชี่ยวชาญวุฒิวงศ์-
dc.date.accessioned2022-11-07T07:24:40Z-
dc.date.available2022-11-07T07:24:40Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17586-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/300090-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectสีย้อมและการย้อมสีen_US
dc.subjectฝ้ายen_US
dc.subjectผ้าจวนตานีen_US
dc.titleโครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานีen_US
dc.title.alternativeรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการย้อมสีธรรมชาติกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผ้าจวนตานีen_US
dc.title.alternativeNatural dyeing on Juan Tani Ikat textilesen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.contributor.departmentFaculty of Sciecnce and Technology (Science)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตร์-
dc.contributor.departmentFaculty of Science and Industrial Technology-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม-
dc.description.abstract-thงานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิตวัสดุให้สีจากธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น เพื่อใช้ในการย้อมเส้นด้ายฝ้าย ศึกษาเทคนิคและวิธีย้อมเส้นด้ายฝ้ายเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับ ทำผ้าจวนตานีด้วยสีย้อมธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น สำหรับวิธีการวิจัยใช้การทดลองสกัดสีจาก พืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นจำนวน 12 ชนิดและทดลองย้อมเส้นด้ายฝ้าย ผลการวิจัยพบว่า การคัดวัสดุให้สีจากพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นที่นำมาศึกษาครั้งนี้มี 2 ชนิด ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการสกัดสีทำให้ได้สีดังต่อไปนี้ เปลือกต้นโกงกางใบเล็กและ เปลือกต้นสนทะเลได้สีน้ำตาลแดง เปลือกต้นเสม็ดชุนและเปลือกต้นมะม่วงหิมพานต์ได้สี น้ำตาล เปลือกต้นมะขามเทศได้สีครีม สีน้ำตาลอ่อนและสีกากีเข้ม กิ่งสดมะพูตได้สีเหลือง เปลือกต้นเพกาได้สีครีม สีเหลืองเขียวอ่อนและสีกากี ส่วนใบเพกาได้สีครีม สีเหลืองเขียวและสีกากี ใบหูกวางและใบเสม็ดขาวได้สีเหลืองอ่อนและสีกากีเข้ม ใบคุระได้สีดำ ไม้ฝางได้สีแดงและสีม่วง ใบและก้านครามได้สีน้ำเงิน สำหรับเทคนิคการสกัดสีและย้อมเส้นด้ายฝ้ายพบว่า การคัดวัสดุให้สี ด้วยการสกัดสีที่ให้เฉดสีเหลืองคือ กิ่งมะพูดสดร่วมกับมอร์แดนท์สารส้มหรือน้ำปูนใสหรือน้ำด่าง ได้เส้นด้ายฝ้ายสีเหลืองสวยที่สุต เฉดสีแดงคือเปลือกต้นโกงกางใบเล็กทับครั่งและใช้มอร์แดนท์ สารส้มทำให้ได้เส้นด้ายฝ้ายสีแดง เฉดสีดำคือ ใบคุระร่วมกับมอร์แดนท์น้ำสนิมเหล็กทำให้ได้ เส้นด้ายฝ้ายสีดำ เฉดสีม่วง คือไม้ฝางย้อมร่วมกับมอร์แดนท์จุนสีทำให้ได้เส้นด้ายฝ้ายสีม่วง ส่วนเฉดสีน้ำเงินคือ ใบและก้านของต้นครามที่ผ่านการเตรียมน้ำครามมาเรียบร้อยแล้วได้เส้นด้าย ฝ้ายสีน้ำเงินen_US
Appears in Collections:722 Research
895 Research
932 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.