Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุษบง ชัยเจริญวัฒนะ-
dc.contributor.authorโชคชัย วงษ์ตานี-
dc.contributor.authorอุสมาน หวังสนิ-
dc.contributor.authorยาสมิน ซัตตาร์-
dc.contributor.authorนิยาวาเฮร์ ไพบูลย์-
dc.date.accessioned2022-11-03T07:44:40Z-
dc.date.available2022-11-03T07:44:40Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17573-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/285995-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำen_US
dc.subjectพื้นที่ชุ่มน้ำen_US
dc.titleโครงการวิจัยเรื่องชุมชนท้องถิ่นกับกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการ พื้นที่ลุ่มน้้าในเขตความมั่นคงจังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่องชุมชนท้องถิ่นกับกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการ พื้นที่ลุ่มน้้าในเขตความมั่นคงจังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeLocal community development and participatory process in flatland management of an insurgency-prone area in the Songkhla province-
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentสถาบันสันติศึกษา-
dc.contributor.departmentInstitute for Peace Studies-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการใช้ทรัพยากร ความต้องการและความพร้อมใน การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่ความมั่นคงจังหวัดสงขลา 2) เพื่อศึกษากระบวนการจัดท้าแผนชุมชน และการจัดการพื้นที่ลุ่มน้้าอย่างมีส่วนร่วม และ 3) เพื่อเสนอแนะรูปแบบกระบวนการประสานความ ร่วมมือและบูรณาการจัดการพื้นที่ โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดย การสังเกตแบบมีส่วนร่วม สัมภาษณ์เชิงลึก และสนทนากลุ่มย่อย พื้นที่ศึกษาประกอบด้วย 16 ต้าบล 4 อ้าเภอ ได้แก่อ้าเภอจะนะ อ้าเภอเทพา อ้าเภอนาทวี และอ้าเภอสะบ้าย้อย ผลการศึกษา พบว่า ความต้องการและความพร้อมของชุมชนในการจัดการลุ่มน้้า ใน 4 ด้าน ประกอบด้วย (1) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยให้ความส้าคัญในการพัฒนาและ ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติของชุมชน ต้องการให้รักษาความสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านั้นไว้โดยอาศัยการมีส่วนร่วม และการมีบทบาทในการจัดการทรัพยากร ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ (2) ด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว โดยให้การพัฒนาอุตสาหกรรมอยู่นอกชุมชน และปฏิเสธอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ กระทบต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม หรือให้มีการก้าหนดเขตพื้นที่ให้ ชัดเจน โดยต้องให้อยู่นอกเขตชุมชน ตลอดจนประชาชนต้องได้รับเอกสารสิทธิ์ในที่ดินท้ากินของ ตนเอง (3) ด้านคุณภาพชีวิต วัฒนธรรม การจัดการระเบียบ/ชุมชน และการบริหารจัดการที่ดี พบว่า ปัญหาที่ได้รับเสียงสะท้อนเกือบทุกพื้นที่ คือ ปัญหายาเสพติด และ (4) ด้านโครงสร้างพื้นฐานและ โครงข่ายคมนาคม ต้องการให้มีการขยายโครงข่ายโทรคมนาคมที่เป็นถนนสายหลักและถนนสายรอง เพิ่มขึ้น ที่สามารถเชื่อมต่อกับชายแดนและแหล่งท่องเที่ยวได้มากขึ้น ตลอดจนปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณแหล่งท่องเที่ยว และพื้นที่สาธารณะอื่นๆ ให้มีความพร้อมต่อการรองรับนักท่องเที่ยวได้ ส้าหรับกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดท้าแผนพัฒนาลุ่มน้้านั้น ต้องจัดให้มีการมีส่วนร่วมโดยตัวแทน จากประชาชนในพื้นที่ในทุกขั้นตอน ส่วนด้านรูปแบบกระบวนการประสานความร่วมมือและบูรณา การจัดการพื้นที่นั้น งานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะ คือการก้าหนดให้มีการพัฒนาแผนงานเป็นข้อมูลเพื่อ เสนอและผลักดันให้เป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัดสงขลา โดยก้าหนดให้หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงาน ความมั่นคงควรร่วมก้าหนดแผนการพัฒนา และปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้ง 4 อ้าเภอ ตลอดจน สนับสนุนงบประมาณในการด้าเนินการพัฒนาพื้นที่ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ทั้งนี้ให้ใช้ ข้อมูลและกลไกในการวิจัยเป็นแนวทางและข้อเสนอแนะสู่การจัดการลุ่มน้้าโดยชุมชนต่อไปen_US
Appears in Collections:9506 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.