Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17521
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัญชนา สินธวาลัย | - |
dc.contributor.author | สุวิทย์ เจ้หนูด้วง | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-15T03:22:32Z | - |
dc.date.available | 2022-09-15T03:22:32Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17521 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561 | en_US |
dc.description.abstract | This research aims to analyze main causes of waste and inefficiencies in crew boat management in order to determine practices for reducing the costs incurred from non-value added activities in the company of case studies, based on DMAIC process improvement of Lean Six Sigma. Way of improvement is to study about the waiting time of a vessel named “Hercules” as an example to find root causes of high fuel consumption while conducting waiting activity. This study aims to reduce fuel consumption by 20% when vessel is waiting mode. The study found that the activity of waiting for the next job has a share of 94% of all types of waiting activities. The major cause of high fuel consumption is from excessive use of main engines during waiting for the next job. The main problem is caused by a lack of fuel efficiency management awareness, attention of crew and boat controller; and there is no guideline for main engines usage while waiting for the next job. These gaps were closed by conducting training and building motivation for crew and boat controller and initiated documented procedures about fuel efficiency management during standby time. After the implementation of the control measures, the result was shown that fuel consumption rate during waiting activities was decreased form 106.83 liter per hour to 69.93 liter per hour, or decrease to 34%. Cost reduction is estimated at 1,583,432 baht per year. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การผลิตแบบลีน | en_US |
dc.subject | ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) | en_US |
dc.subject | การกำจัดของเสีย | en_US |
dc.subject | ความสูญเปล่าทางเศรษฐกิจ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ความสูญเปล่าในกระบวนการบริหารจัดการเรือโดยสาร ตามหลัก ลีนซิกซ์ซิกม่า: กรณีศึกษาบริษัทสำรวจและผลิตปิโตรเลียมและก๊าชธรรมชาติ | en_US |
dc.title.alternative | Waste analysis of crew boat management process by Lean Six Sigma: A Case study of Exploration and Production of Petroleum and Natural Gas Company | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสูญเปล่าและสาเหตุหลักของความสูญเปล่าเพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติสำหรับการลดต้นทุนที่เกิดขึ้นในกิจกรรมความสูญเปล่าในกระบวนการบริหารจัดการเรือขนส่งผู้โดยสารของบริษัทกรณีศึกษาโดยยึดหลักขั้นตอนการปรับปรุงกระบวนการ DMAIC ตาหลัก ลีนซิกซ์ ซิกมา ทำการศึกษาเรือตัวอย่างชื่อ Hercules เพื่อหาสาเหตุของความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงสูงในขณะดำเนินกิจกรรมการรอคอย โดยวางเป้าหมายเพื่อการลดความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงในขณะดำเนินกิจกรรมการรอคอยลง 20% จากการศึกษาพบว่ากิจกรรมการรอคอยงานต่อไปมีสัดส่วนถึง 94% ของระยะเวลาของประเภทการรอคอยที่เกิดขึ้นทั้งหมดและสาเหตุหลักของความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง คือการเดินเครื่องยนต์หลักมมากเกินความจำเป็น ซึ่งพบว่าสาเหตุหลัก คือ คนประจำเรือและเจ้าหน้าที่ควบคุมแผนการเดินเรือขาดความรู้ ความเอาใจใส่ เรื่องการบริหารประสิทธิภาพความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง และไม่มีแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการการเดินเครื่องยนต์หลักขณะรอคอยงานต่อไป จึงได้ดำเนินการปรับปรุงด้วยการจัดการฝึกอบรม จัดทำเอกสารมาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน และการสร้างแรงจูงใจ ผลหลังจากการดำเนินปรับปรุง พบว่าอัตราความสิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิงในขณะดำเนินกิจกรรมการรอคอยลดลงจาก 106.83 ลิตรต่อชั่วโมง เป็น 69.93 ลิตรต่อชั่วโมงหรือลดลงถึง 34% ซึ่งมีมูลค่าประหยัดต่อต้นทุนประมาณ 1,583,432 บาทต่อปี | en_US |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การวิเคราะห์ความสูญเปล่าในกระบวนการบริหารจัดการเรือโดยสาร - บทความวิจัย.doc | 796.5 kB | Microsoft Word | View/Open | |
การวิเคราะห์ความสูญเปล่าในกระบวนการบริหารจัดการเรือโดยสาร.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License