Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะนุช ปรีชานนท์-
dc.contributor.authorณฐกานต์ คงธรรม-
dc.date.accessioned2022-09-15T03:08:17Z-
dc.date.available2022-09-15T03:08:17Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17518-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research are to study the Health Knowledge, Health Attitude, behavior of the patient’s using Thai Traditional Medicine and the Influence of Health Knowledge and Attitude effecting to Patient’s Using Behavior Thai Traditional Medicine. The samples of this study were patient’s using in Public Hospitals, Songkhla Province, who had used and unused Thai Traditional Medicine. The samples of this study were 385 respondents. Data collection was performed by using questionnaires. Research data was statistically analyzed to determine frequency, percentage, average and standard deviations. The Influence was analyzed using multiple regression analysis. The research determined the statistical significance level of 0.05. The results show that the Health Knowledge of Patient’s using Thai Traditional Medicine had a high level (mean 3.83), Health Attitude is highest level (mean 4.22), And Patient’s using behaviour Thai Traditional Medicine at low level (mean 2.18). Multiple regression analysis was performed health knowledge (Beta = 0.24) and health attitude (Beta = 0.06) were predicted to be influenced the prevalence of behaviour of the patient’s using Thai Traditional Medicine at 9.60 percent (R2= 0.096). But the results show that the Beta, Health Attitude had no effect to Patient’s using behaviour Thai Traditional Medicine (Sig. 0.35), Health Knowledge can predict behaviour of the patient’s using Thai Traditional Medicine significant difference levels of 0.05en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความรู้ด้านสุขภาพen_US
dc.subjectทัศนคติด้านสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectแพทย์แผนไทยen_US
dc.titleความรู้และทัศนคติด้านสุขภาพที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทยen_US
dc.title.alternativeHealth Knowledge and Attitude Effecting to Patient’s Using Behavior Thai Traditional Medicineen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษา ความรู้และทัศนคติด้านสุขภาพที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ระดับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ ทัศนคติต่อสุขภาพ และพฤติกรรมการใช้บริการของผู้ป่วยที่มาใช้บริการแพทย์แผนไทย รวมถึงวิเคราะห์หาอิทธิพลของความรู้และทัศนคติด้านสุขภาพที่มีต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทย โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดสงขลา ที่เคยใช้และไม่เคยใช้บริการแพทย์แผนไทย จำนวน 385 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ความรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.83 มีทัศนคติด้านสุขภาพอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.22 และมีพฤติกรรมในการมาใช้บริการแพทย์แผนไทยอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 2.18 และผลการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ พบว่า ความรู้ด้านสุขภาพ (Beta = 0.24) และทัศนคติด้านสุขภาพ (Beta = 0.06) สามารถพยากรณ์พฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทยได้ร้อยละ 9.60 (R2= 0.096) แต่เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า ทัศนคติด้านสุขภาพไม่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทย (Sig. = 0.35) ซึ่งไม่สามารถพยากรณ์พฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทยได้ ส่วนความรู้ด้านสุขภาพนั้น สามารถพยากรณ์พฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทยได้ จึงทำให้ความรู้ด้านสุขภาพมีผลต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยในการใช้บริการแพทย์แผนไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons