กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17495
ชื่อเรื่อง: การสื่อสารการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารทะเล ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Marketing Communication Affecting Bangkok Consumer's Decision on Seafood
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: สุมนา ลาภาโรจน์กิจ
ณิชาภา ศรีคุณารักษ์
Faculty of Management Sciences (Business Administration)
คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ
คำสำคัญ: การสื่อสารการตลาด;อาหารทะเล;การตัดสินใจซื้อ
วันที่เผยแพร่: 2022
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: The purpose of this research was to investigate the effect of marketing communications on purchasing decision of seafood in Bangkok. This research was quantitative research, and the survey was conducted from 385 people. By analyzing multiple regression analysis. Analysis at 0.05 confident. The study In terms of communication found the first is sold by staff, the second is direct marketing, and the last is public relations direct marketing the effect of purchasing decision of seafood in Bangkok. Explain The variable of the variance of on purchasing decision of seafood in Bangkok. These predictor accounted for (𝑅 2 = 0.176) the predicted equation can be stated as follow Y = 2.291 + 0.141𝒙𝟏 (sold by staff) + 0.136𝒙𝟐 (direct marketing) + 0.122𝒙𝟑 (public relations) The study found the suitable for those who are interested or business owners selling seafood. To plan marketing communications to target customers interested in and consuming fresh seafood effectively
Abstract(Thai): การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการสื่อสารการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารทะเลของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นวิจัยเชิงปริมาณ โดยประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 385 คน โดยเครื่องมือในการเก็บข้อมูลงานวิจัยนี้คือแบบสอบถาม และนำมาวิเคราะห์ด้วยการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติงานวิจัยไว้ที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า โดยการศึกษาสื่อสารทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ พบว่า การขายโดยบุคคล เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือการตลาดทางตรง และการประชาสัมพันธ์เป็นอันดับสุดท้าย มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารทะเลสดของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพ สามารถอธิบายค่าความแปรปรวนของการตัดสินใจซื้ออาหารทะเลสดของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพ ได้ร้อยละ17.6 (R^2 = 0.176 ) สมการพยากรณ์ดังนี้ Y = 2.291 + 0.141X_1 (การขายโดยพนักงาน) + 0.136X_2 (การตลาดทางตรง) + 0.122X_3 (การประชาสัมพันธ์) โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้เหมาะสำหรับผู้สนใจ หรือ ผู้ที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารทะเล เพื่อวางแผนการสื่อสารการตลาดไปยังลูกค้ากลุ่มเป้าหมายที่กำลังสนใจและบริโภคอาหารทะเลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียด: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17495
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:460 Minor Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
การสื่อสารการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารทะเลสด.pdf923.51 kBAdobe PDFดู/เปิด
6310521046.doc332.5 kBMicrosoft Wordดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons