Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอริยา คูหา-
dc.contributor.authorอุสมาน สะอิด-
dc.date.accessioned2022-04-27T07:25:19Z-
dc.date.available2022-04-27T07:25:19Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17433-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา), 2563en_US
dc.description.abstractThe objectives of this experimental research were 1) To compare aggressive behavior of sixth grade students between before and after treatment of group counseling program based on behaviorism of experimental group 2) To determine the relative gain score of students in the experimental group before and after using group counseling program based on behaviorism 3) To compare aggressive behavior of the sixth grade students after treated with group counseling program based on behaviorism between experimental group and control group. 30 samples were divided into 2 group, 15 each e.i experimental and control group. Experimental group were treated by behaviorism program with 10 sessions of 60 minutes each and the control group received courses in citizenship boy scout activities. The study Instruments were 1) aggressive behavior scale with the reliability of 0.97. 2) Program of counseling to reduce aggressive behavior 10 time and 60 minutes each. Statistically analysis used SD, relative gain score and test of Wilcoxon s Matched Pairs Signed – Rank Test. The results revealed that students who were treated by group counseling program based on behaviorism showed the reduce of aggressive behavior with significantly at level of .01. The relative developmental level of experimental group students before and after using the group counseling program using behavioral concepts had an average increase of 30.10 percent at the mid level. The comparisons of aggressive behavior between the experimental group and the control group showed the reduced aggressive behavior at the significant level of .01.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectความก้าวร้าวในเด็กen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen_US
dc.titleผลของการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิดพฤติกรรมนิยมเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeEffects of Group Counseling Program based on Behaviorism on Reducing Aggressive Behavior of Sixth Grade Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Psychology and Counseling)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว-
dc.description.abstract-thการวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิด พฤติกรรมนิยมของกลุ่มทดลอง 2) เพื่อศึกษาระดับพัฒนาการสัมพัทธ์ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิดพฤติกรรมนิยม 3) เพื่อ เปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการใช้โปรแกรมการให้การ ปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิดพฤติกรรมนิยมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างใน การวิจัยครั้งนี้ มีจํานวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลอง ได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิดพฤติกรรมนิยม และกลุ่มควบคุมเข้ารับการเรียนวิชา เพิ่มเติมในวิชาหน้าที่พลเมือง กิจกรรมลูกเสือและกิจกรรมชุมนุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดพฤติกรรมก้าวร้าวที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 (2) โปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มโดยใช้แนวคิด พฤติกรรมนิยมเพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว จํานวน 10 ครั้งๆ ละ 60 นาทีวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์และการทดสอบของวิลคอกซัน (Wilcoxon’s Matched Pairs Signed – Rank Test) ผลการวิจัย พบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิดพฤติกรรมนิยมหลัง การทดลองมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ระดับพัฒนาการสัมพัทธ์ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการให้การ ปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้แนวคิดพฤติกรรมนิยมมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 30.10 ระดับกลาง 3. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า กลุ่ม ทดลองมีพฤติกรรมก้าวร้าวลดลงสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
Appears in Collections:286 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5920121003.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons