Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17383
Title: | พัฒนาต้นแบบชุดกรองเซรามิกเมมเบรนสำหรับการกรองน้ำสกัดเสริมสุขภาพจากเปลือกมังคุด |
Other Titles: | Development of prototype of ceramic membrane filter for filtration of functional fermented Mangosteen peet beverage รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ พัฒนาต้นแบบชุดกรองเซรามิกเมมเบรนสำหรับการกรองน้ำสกัดเสริมสุขภาพจากเปลือกมังคุด |
Authors: | ดรุณี ผ่องสุวรรณ ดวงพร คันธโชติ ไตรภพ ผ่องสุวรรณ Faculty of Science (Materials Science and Technology) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ Faculty of Science (Microbiology) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา Faculty of Science (Physics) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์ |
Keywords: | เครื่องกรองชนิดเยื่อแผ่น;เครื่องเคลือบดินเผา;อาหารเสริม;มังคุด |
Issue Date: | 2559 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | L.plantarum DW12 was used as a starter culture to produce manerage.There were 4 sets of experiments as follows:Set A,a tradition.mangosteen peel, cane sugar and potable water (w.w:v = 3:1:10) without starter culture.Set B is set A with 5% starter culture and 0.5% monosodium glutamate (MSG). Set C is atraditional formula flesh mangosteen, cane sugar and potable water (3 :1 : 10) withoutstarter culture and set D is set C with 5% starter culture and 0.5% monosodium glutamate(MSG). Initial total bacterial counts (TBC) in all sets were between 5.11 and 5.62 logCFU/ml. At the end of fermentation (12 weeks), TBC in set A, B, C and D were 4.17, 4.14,4.18 and 2.84 log CFU/ml, respectively, while initial lactic acid bacteria (LAB) were 2.33,5.2, 4.9 and 5.16 log CFU/mI, respectively, and at the end of fermentation the LAB levelswere 2.60. 4.14, 2.43 and 3.26 log CFU/ml, respectively. The initial number of yeasts in allsets was approximately 5 log CFU/ml and at the end of fermentation set C had thehighest number of 4.13 log CFU/ml.The final concentration of sugar in all sets at week 12was in a range of 0.02-0.51%, pH 3.2-3.8, electrical conductivity of 916-3308 HS/cm withtotal acidity of 0.46-0.95%, Moreover, mangosteen beverage fermentation had antioxidantactivity and the maximum antioxidant activity found at week 12 in all sets. Based on DPPHand total phenolic content, set B produced the highest antioxidant activity followed byset A C and D, respectively. Bacterial indicators were not found in all sets including totalcoliforms, Escherichia coli and pathogens; Salmonella sp., S. aureus and Clostridiumperfringens. Antibacterial activity was found in all sets against the growth of testedbacteria mentionedpreviously.Tubular-type ceramic membranes made from alumina were prepared by slip castingmethod. The tube dimensions are 22 and 34 mm outer diameter, 220 mm in length and 3mm thickness (surface area = 0.01 and 0.02 m'). After sintering at temperature of 1100cthe ceramic membrane possessed an average porosity of 47-49 % with pore diameter of0.3-1 micron.Filtration unit was designed to install 3-4 ceramic tubes (total surface area = 0.05and 0.07 m') with cross-flow pattern and made of PVC pipe with 0.1 m internal surfacearea. Tests showed the pure water permeate at 137.80 kpa is between100 and 168 LhrThe permeate of fermentedmangosteen beverage set B and C was reduced to 1.37 andunit was designed to install 3-4 ceramic tubes (total surfaced 0.07 m²) with cross-flow pattern and made of PVC pipe with 0.1 m²internal surfacearea. Tests showed the pure water permeate at 137.80 kPa is between100 and 168 Lhr-1The permeate of fermentedmangosteen beverage set B and C was reduced to 1:37 and2.55 Lhr-1at 34.45-137.80 kPa, respectively. Results showed that the laboratory-madeceramic filter can reduced numbers of yeast, TBE and LAB tde< 1.47 log CFU/ml,respectively. Ethanols in all sets after filtration were still 2.02, 4.27, 4.45 and 5.61 %,respectively. The total sugar, pH, total acidity, including antioxidants activity before andafter filtrations were slightly different. The filtered broth can inhibited all 4 testedbacteria, no detection of bacterial indicators and foodborne pathogens was found. Resultsnsory test using Hedonic test found that all sets after filtration in theacceptance than before filtration due to their more clearness. |
Abstract(Thai): | นำกล้าเชื้อ L. plontorum DV12 มาใช้เพื่อผลิตน้ำหมักเปลือกมังคุดและเนื้อมังคุด โดย จัดให้มี4 ชุดการทดลอง คือน้ำหมักเปลือกมังคุด ชุด A แบบดั้งเดิม (เปลือกมังคุด น้ำตาลทราย น้ำสะอาดอัตราส่วน 3:1:10 (w/w/v) ชุด B แบบดั้งเดิม (ชุด A) เดิมกล้าเชื้อ 596 และ 0.596 Monosodiumglutamate (MSG) ชุด C น้ำหมักเนื้อมังคุดแบบดั้งเดิม (เนื้อมังคุด น้ำตาลทราย น้ำสะอาด อัตราส่วน3.1 10 (w/w/v) และน้ำหมักชุด D แบบดั้งเดิม (ชุด C) เติมกล้าเชื้อ 5% และ 0.5% Monosodiumglutamate (MSG) เมื่อเริ่มต้นการหมักทุกชุดการทตลองมี ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมด (TBC) อยู่ในช่วง5.11-562 Log CFU/ml เมื่อสิ้นสุดการหมักที่ 12 สัปดาห์ น้ำหมักชุด A, B, C และ D มีปริมาณ TBCคงเหลือ 4 .17, 4.14, 4.18 และ 2.84 Log CFU/ml ตามลำดับ และมีปริมาณแลกติกแอสิดแบคทีเรีย(LAB) เริ่มต้นเท่ากับ 2.33. 5.2 9.9 และ 5.16 I0g CFU/ml และเมื่อสิ้นสุดการหมัก LAB คงเหลือ2.60, 4 .14, 2.43 และ 3.26 Log CFU/ml ตามลำดับ ส่วนปริมาณยีสต์เริ่มต้นทุกชุดการทดลองมีประมาณ 5 Log CFU/ml และเมื่อสิ้นสุดการหมัก ชุด (มียีสต์เหลืออยู่มากที่สุด 4.13 Log CFU/mlโดยทุกชุดการทดลองมี ปริมาณน้ำตาลเหลืออยู่ในช่วงร้อยละ 0.02-0.51 ค่าพีเอชระห ว่าง 32-3.8ค่าการนำไฟฟ้า 916-3308 uS/cm ความเป็นกรด 0.46-0.95 สำหรับความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH และปริมาณสารประกอบฟีนอลลิกทั้งหมด มีค่าสูงสุดในน้ำหมักชุด B ตามด้วยชุด A, Cและ D ตามลำดับ ตรวจไม่พบแบคที่เรียบ่งชี้ Total coliforms และ Escherichio coli และตรวจไม่พบเชื้อก่อโรคของระบบทางเดินอาหาร Salmonella sp., Staphyloccus aureus และ Clostridiumpeffringens ในทุกชุดการทดลอง สรุปได้ว่าน้ำหมักทุกชุดมีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียทดสอบทั้ง 4 ชนิดเตรียมเซรามิกเมมเบรนแบบท่อ จากอลูมินาด้วย การหล่อแบบมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 34 และ22 มิลลิเมตร ความยาว 220 มิลลิเมตรหนา 3 มิลลิเมตร (พื้นที่ 0.02 และ 0.01 ตารางเมตร ) เผาที่อุณหภูมิ 1100 °C มีความพรุนตัวร้อยละ 47-49 และมีขนาดของรูพรุน 0.3-1 ไมโครเมตรออกแบบและสร้างเครื่องกรองชนิดไมโครฟิลเตรชันแบบไหลขวาง ชนิด 3-4 ไส้กรอง (พื้นที่เซรามิกเมมเบรนรวม 0.07 และ 0.05 ตารางเมตร) ตัว ถังผลิตจากท่อพีวีซี มีพื้นที่ภายในเครื่องกรอง 0.10ตารางเมตร มีค่าอัตราผลิตน้ำบริสุทธิ์มีค่าอยู่ระหว่าง 100-168 ลิตรต่อชั่วโมง ที่ความดัน 137.80 kPaเมื่อนำมากรองน้ำหมักชุด Bและ C จะให้อัตราการผลิตน้ำหมัก 1.37 และ 2.55 ลิตรต่อชั่วโมงตามลำดับที่ความดัน 34.45 -137.80 kPaในการกรองน้ำหมักด้วยเซรามิกเมมเบรนที่พัฒนาขึ้นเอง สามารถลดปริมาณยีสต์ TBC และ LABในน้ำหมักชุด B เหลือ <1.47 Log CFU/ml ปริมาณเอทานอลของน้ำหมักชุด A, B, C และ D มีค่าเท่ากับร้อยละ 2.02 4.27 , 445 และ 5 61 ตามลำดับ ปริมาณน้ำตาล พีเอช กรด ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระหลังกรองมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับก่อนกรอง รวมทั้งยังคงมีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียทดสอบทั้ง 4 และตรวจไม่พบแบคทีเรียบ่งชี้เชื้อโรคที่มากับอาหาร ผลการทดสอบประสาทสัมผัสของน้ำหมักพบว่าหลังกรองได้รับคะแนนการยอมรับมากกว่าก่อนกรอง ซึ่งเป็นเพราะมีความใสมากขึ้น |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17383 |
Appears in Collections: | 326 Research 332 Research 342 Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
413364-abstract.pdf | 228.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.