กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17317
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัชรวลี ตั้งคุปตานนท์ | - |
dc.contributor.author | ณัฏฐณิดา ทองเอียด | - |
dc.date.accessioned | 2021-10-28T03:43:21Z | - |
dc.date.available | 2021-10-28T03:43:21Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17317 | - |
dc.description | วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564 | en_US |
dc.description.abstract | The program in Marine Engineering, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Srivijaya has been launched. Although it is a new program, it has enrolled 3 student batches (30 students per academic year). The problem was that applicants were declining every year. It was due to the fact that standard public relation was not able to reach a wide audience, information was not directed to individuals because of budget constraints, and the target audience did not have enough useful information to make a decision. Therefore, there was a risk of being unable to enroll the planned student numbers and indicators at both the program and faculty level. As a result, the researcher came up with a develop idea to promote an online Marine Engineering program by using the Chatbot system via Facebook Fan page: Marine Engineering, RUTS as a media for public relations. The user will be vocational certificate students and high school students in the mathematics-science program who are interested in further study in such a program. The data were analyzed by the SPSS program, using t-test. The results were according to the determined objectives. Online public relations were smooth, well-controlled budget, publicized, and presented a clear image to interested people as well as increasing user awareness at a higher level. As for the analysis, it found that although the sample who received public relations in different ways had different levels of brand awareness, all three public relations were effective to raise the brand awareness. In conclusion, it was reachable for a wider audience and increased the effectiveness of corporate communications further. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | หลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ | en_US |
dc.subject | Chatbot | en_US |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | en_US |
dc.subject | ความตระหนักรู้ | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิผลระหว่างการประชาสัมพันธ์แบบมาตรฐานและแบบออนไลน์เพื่อสร้างความตระหนักรู้ข้อมูลหลักสูตร: กรณีศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย | en_US |
dc.title.alternative | A Comparison of the Effectiveness between Traditional and Online Public Relations for in Program's Brand Awareness: A Case Study in Marine Engineering Program, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Srivijaya | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering Management of Information Technology | - |
dc.description.abstract-th | หลักสูตรสาขาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เป็นหลักสูตรที่เริ่มเปิดการเรียนการสอนและนับว่าเป็นหลักสูตรใหม่ มีการเปิดรับนักศึกษามาแล้วจำนวน 3 รุ่น (แผนรับ 30 คนต่อปีการศึกษา) ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ยอดผู้สมัครลดลงในทุกปี เนื่องจากการประชาสัมพันธ์แบบมาตรฐานไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างกว้างขวาง ข้อมูลมิได้ส่งตรงไปยังเฉพาะบุคคล เนื่องจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ กลุ่มเป้าหมายไม่ได้รับข้อมูลอันเป็นประโยชน์ที่จะช่วยในการตัดสินใจอย่างเพียงพอ จึงมีความเสี่ยงที่หลักสูตรจะรับนักศึกษา ไม่ได้ตามแผนและตัวชี้วัดทั้งระดับหลักสูตรและคณะ ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาการประชาสัมพันธ์หลักสูตรสาขาวิชาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือแบบออนไลน์ โดยมีระบบ Chatbot ผ่าน Facebook Fan page: วิศวกรรมเครื่องกลเรือ มทร.ศรีชัย เป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ ซึ่งผู้ใช้งานจะเป็นกลุ่มนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิตที่มีความสนใจศึกษาต่อในหลักสูตร มีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS ใช้สถิติทดสอบ T-test ผลการวิจัยพบว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ โดยการพัฒนา Chabot สำหรับประชาสัมพันธ์หลักสูตรแบบออนไลน์สามารถดำเนินการไปอย่างราบรื่น ช่วยลดงบประมาณ สามารถเผยแพร่ นำเสนอภาพลักษณ์ให้ผู้ที่สนใจเข้าศึกษาได้เห็นคุณค่า ผลการวิเคราะห์ พบว่า ระดับความตระหนักรู้ข้อมูลหลักสูตรของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการประชาสัมพันธ์หลักสูตรแต่ละวิธีแตกต่างกัน แต่ทั้ง 3 วิธีสามารถเพิ่มความตระหนักรู้ให้แก่ผู้ใช้งานได้มากขึ้น สรุปคือ การประชาสัมพันธ์หลักสูตรแบบออนไลน์ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้กว้างขวางขึ้น และเพิ่มประสิทธิผลในการสื่อสารขององค์กรได้มากขึ้น | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 229 Minor Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6010121048.pdf | 4.38 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License