Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17264
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทัย ปริญญาสุทธินันท์-
dc.contributor.authorช่อผกา วิสุทธิ์-
dc.date.accessioned2021-08-07T17:39:30Z-
dc.date.available2021-08-07T17:39:30Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17264-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนามนุษย์และสังคม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study External factors, Rubber Cooperative Fund Management and Subjective Wellbeing of the Members in Thung Tam Sao Community, Hat Yai District, Songkhla. The method was Mixed Method that was divided into 3 terms as follows; first term, that was quality research. Data collections were in-depth interviews, Delphi method, focus group, non-participant observation and field research. Key Informants consist of chairmen and committees, officers, and members of cooperative that total 31 persons. Support Informants consist of Songkhla Provincial Cooperative officers, members of Concentrate Latex Group in community, community leaders and local administrators that total 9 persons. In part of Delphi Technique, 13 specialists answered Delphi questionnaire until they totally agree. After that researcher analyzed data together with document studying, related research and report research by Descriptive Research. After that, second term, quantitative research, researcher used questionnaire for sample group that was member of Rubber Cooperative Fund in Thung Tam Sao Community. The sample group was set 20 times of the variable that there were 11 variables. Therefore, sample group had 220 persons and leaded to find management that affected Subjective Wellbeing of people in Thung Tam Sao Community, and the last term, quality research, the method was focus group that researcher assembled the result of second term and suggestion, in order to discuss and find the way to support Subjective Wellbeing of people in Thung Tam Sao Community. The study found that rubber fund cooperatives in Thung Tam Sao Community, Hat Yai District, Songkhla Province that was divided into subjective Wellbeing in individual level consists of five parts as follows; general necessity, good social relationship, community governance, healthy and stable career. External factors in social, environment and factors management participation of Rubber Cooperative Fund. There is a positive relationship with subjective well-being and participative management factor affects Subjective Wellbeing of member of Rubber Cooperative Fund that the statistic is .001. There are is one variable and internal social factor affects Subjective Wellbeing of member of Rubber Cooperative Fund that the statistic is .01 and external social factor affects Subjective Wellbeing of member of Rubber Cooperative Fund that the statistic is .05. Therefore, there should be the enhancing wellbeing of people in the community such as participation, social and environment. So that it can further strengthen the community sustainably.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectสหกรณ์การเกษตร หาดใหญ่ (สงขลา)en_US
dc.subjectสหกรณ์กองทุนสวนยาง (สงขลา) การบริหารen_US
dc.titleการจัดการสหกรณ์กองทุนสวนยางกับความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกในชุมชนทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeManagement of Rubber Fund Cooperatives and Subjective Wellbeing of the Members in Thung Tam Sao Community, Hat Yai District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยภายนอกและปัจจัยการจัดการสหกรณ์ กองทุนสวนยางกับความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกในชุมชนทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่งใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน Mixed Method โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีแบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เทคนิคเดลฟาย และแบบการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยการรวบรวมข้อมูลภาคสนาม โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบไปด้วย ประธานและคณะกรรมการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ และสมาชิกสหกรณ์ จำนวน 31 คน และผู้ให้ข้อมูลรองประกอบไปด้วย เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสงขลา สมาชิกกลุ่มน้ำยางสดในชุมชน ผู้นำชุมชนและผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน 9 คน และในส่วนของเทคนิคเดลฟาย ซึ่งผู้วิจัยได้ให้ผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 13 ท่าน ตอบแบบสอบถามเดลฟายจำนวน 3 รอบ จนกระทั่งความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีความสอดคล้องกัน จากนั้นผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และเขียนรายงานผลการวิจัยด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ จากนั้น ระยะที่ 2 วิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยการใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางในชุมชนทุ่งตำเสา โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากจำนวน 20 เท่าของตัวแปร ซึ่งมีทั้งหมด 11 ตั๋วแปร จึงได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 220 คน เพื่อนำไปสู่ข้อค้นพบการจัดการที่ส่งผลต่อความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกสหกรณ์ใน ชุมชนทุ่งตำเสา และสุดท้าย ระยะที่ 3 วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้แนวทางการสนทนากลุ่ม เพื่อนำไปสู่แนวทางการเสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกในชุมชนทุ่งตำเสาต่อไป ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอกและปัจจัยการจัดการสหกรณ์กองทุนสวนยางใน ชุมชนทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สามารถส่งผลต่อความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัย ซึ่งครอบคลุมมิติการดำรงชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ โดยเป็นความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยในระดับปัจเจก มีทั้งหมด 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความจำเป็นทั่วไป ด้านความสัมพันธ์ทางสังคมที่ดี ด้านธรรมาภิบาล ชุมชน ด้านการมีสุขภาพที่ดี และด้านความมั่นคงทางอาชีพ ซึ่งปัจจัยภายนอกด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม และปัจจัยการจัดการด้านการมีส่วนร่วมของสหกรณ์กองทุนสวนยาง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัย และปัจจัยการจัดการด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกส่งผลต่อ ความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกสหกรณ์อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 มีทั้งหมด 1 ตัวแปร ส่วนปัจจัยภายนอกด้านสังคม ส่งผลต่อความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกสหกรณ์อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และปัจจัยภายนอกด้านสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกสหกรณ์อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 จึงนำไปสู่แนวทางการเสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขของเชิงอัตวิสัยของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยาง ได้แก่ การเสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยโดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก การเสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยโดยการส่งเสริม ปัจจัยด้านสังคม และการเสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยโดยการส่งเสริมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม อันสามารถทำให้เกิดความอยู่ดีมีสุขเชิงอัตวิสัยของสมาชิกในชุมชนทุ่งตำเสา เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป-
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
434793.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons