กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17186
ชื่อเรื่อง: | ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์กับพัฒนาการเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสงขลา |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Relationship Between The Use of Electronic Media and Development of Children Aged 2-5 years at Child Development Centers Under Local Government Organization,Songkhla Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | วันธณี วิรุฬห์พานิช ตวงพร ชุมประเสริฐ Faculty of Nursing (Pediatric Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ |
คำสำคัญ: | พัฒนาการของเด็ก สงขลา;อินเทอร์เน็ตกับเด็ก สงขลา |
วันที่เผยแพร่: | 2562 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
บทคัดย่อ: | This descriptive correlational study aimed to study the relationship between the use of electronic media and the development of children aged 2-5 years in Child Development Centers under the Local Government Organization, Songkhla Province. The sample consisted of 210 pairs of parents and children aged 2-5 years. The participants were selected at 4 Child Development Centers. Using multi-stage random sampling. Research instruments were (1) Demographic Data Questionnaire Form, (2) The Use of Electronic Media by Children and Families Questionnaire Form, (3) The Use of Electronic Media by Children on Daily Record Form, (4) Developmental Surveillance and Promotion Manual, and (5) Developmental Surveillance and Promotion in Each Age Group Record Form. The Use of Electronic Media by Children and Families Questionnaire Form and The Use of Electronic Media by Children on Daily Record Form were validated by 3 experts and their reliability evaluated using test- retest and Pearson Product Moment Correlation Coefficient, which yielded values of .73 and .95 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and chi square test. Statistical significance was set at p < .05. The results revealed the following: 1. Overall child development and each child development category Sixty two point nine percent of children aged 2-5 years had age-appropriate development. For each child development category, it was found that the most common delayed development was in receptive language (22.9%), followed by personal and social (10.5%), expressive language (9.50%), fine motor (6.7%), and gross motor (3.8%) categories, respectively. 2. The relationship between the use of electronic media and overall child development. The amount of time children used electronic media during weekdays, the amount of time children used electronic media during holidays, and the number of electronic media, were inversely related with age-appropriate overall child development (x2 = 11.939, p=0.001; x=6861, p=0.009; x=7558,p=0.006 respectively.) whereas parents' participation while children used electronic media was positive related age- appropriate overall child development (x2 = 12404, p = 0.002). No relationship was found between the content of electronic media and overall child development (x2 = 3161, p=0075) 3. The relationship between the use of electronic media and each child development category. The amount of time children used electronic media during weekdays and the number of electronic media were inversely related with the age-appropriate development in receptive language category (x2=9094, p = 0.003; x2-4313, p = 0.038, respectively.) The amount of time children used electronic media during the holidays, the content of electronic media, and parents' participation while children used electronic media showed no significant relationship with receptive language category (x2=2941, p=0.086, x2 = 1.123, p=0.289, and x2-2918, p = 0228, respectively.) It was revealed that the amount of time children used electronic media during weekdays was inversely related with age-appropriate development in personal and social category (x2-4683, p=0.030). The amount of time children used electronic media during the holidays, number of electronic media, content of electronic media, and parents' participation while children were using electronic media, showed no relationship with the development in the personal and social category (x2=0411, p=0521; x2= .000, p = 1000; x=922, p=0.337; and x2 = 7326, p = 0.023, respectively.) In addition, the study also revealed that the amount of time children used electronic media during weekdays, the amount of time children used electronic media during the holidays, the number of electronic media, the content of electronic media, and parents' participation while children were using electronic media, were not related with child development in gross motor (x2= 620, p = 0.803; x2 = 3.930 p=0.531; x2= .000, p = 1.000; x = .741, p = 0389, and x2 = 3860, p = 0.125, respectively), fine motor (x2 = 2055, p = 0.152; x=0.844, p = 0358 %.612, p = 0.434; x = .001, p = 0.981; and x2 = 1.136, p = 0.619, respectively) or expressive language (x2= .002, p = 0963; x2 = 0.022, p=0882; x2=000, p = 1000; x=1559, p=0212; and 2=3944, p = 0.132, respectively.) Therefore, carers of children aged 2-5 years, including parents or guardians, personnel of government agencies, and private organizations, should be aware of the effect of the use of electronic media by children aged 2-5 years on child development, especially in the category of receptive language development. In addition, all parties should create guidelines to promote the appropriate use of electronic media by children aged 2-5 years. |
Abstract(Thai): | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายแบบวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Descriptive Correlational study) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์กับพัฒนาการเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ คู่ของผู้ปกครองและเด็กที่มีอายุ 2-5 ปี จํานวน 210 คู่ ที่มารับบริการ ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสงขลา คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป (2) แบบสอบถามการใช้สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ของเด็กและครอบครัว (3) แบบบันทึกการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของเด็กในแต่ละวัน (4) คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย และ (5) แบบบันทึกการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุ ซึ่งแบบสอบถามการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของเด็กและครอบครัว และแบบบันทึกการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของเด็กในแต่ละวัน ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือ โดยวิธีทดสอบ (Test-Retest Method) และคํานวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) เท่ากับ 73 และ 95 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและ สถิติไคสแควร์ ผลการวิจัย มีดังนี้ 1. พัฒนาการเด็กโดยรวมและรายด้าน ร้อยละ 62.9 ของเด็กอายุ 2-5 ปี มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยทุกด้าน เมื่อแยกพัฒนาการ พบว่าเด็กมีพัฒนาการไม่สมวัยในด้านการเข้าใจภาษามากที่สุด (ร้อยละ 22.9) รองลงมา ได้แก่ ด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม (ร้อยละ 10.5) ด้านการเข้าใจภาษา (ร้อยละ 9.5) ด้าน รายด้าน กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (ร้อยละ 6.7) และด้านการเคลื่อนไหว (ร้อยละ 3.8) ตามลําดับ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์กับพัฒนาการเด็กโดยรวม ผลการวิจัย พบว่า ระยะเวลาที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในช่วงวันธรรมดา ระยะเวลาที่เด็กใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในช่วงวันหยุด จํานวนของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในขณะเด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการโดยรวมของเด็กอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 050 z = 11.939, p = 0001; 2 = 6.861, p = 0009; X=7558, p = 0.006; และ z = 12404, p = 0002 ตามลําดับ) ส่วนลักษณะเนื้อหาของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กโดยรวม (x2=3161, p=0.075) 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์กับพัฒนาการเด็กแยกเป็นรายด้าน การศึกษานี้ พบว่า ระยะเวลาที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในวันธรรมดา และจํานวนของสื่อ อิเล็กทรอนิกส์มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านการเข้าใจภาษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( x = 9.0914, p = 0003, และ z = 4313, p = 0.038 ตามลําดับ) ส่วนระยะเวลาที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ใน ลักษณะเนื้อหาของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองขณะเด็กใช้สื่อ ไม่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา ( 2 - 2941, p = 0086; 2 = 1.123 วันหยุด อิเล็กทรอนิกส์ p=0289, และ X = 2918, p0228 ตามลําดับ) ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์กับพัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและ สังคม พบว่า ระยะเวลาที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในวันธรรมดา มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการด้านการ ช่วยเหลือตนเองและสังคมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (x = 4,683, p = 0.030) ส่วนระยะเวลา ที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในวันหยุด จํานวนของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะเนื้อหาของสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองขณะเด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่มีความสัมพันธ์กับ พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม (z = 0411, p = 0.521; 2,000, p = 1000; x = 922,p=0337; และ X = 7:326, p = 0023 ตามลําดับ) นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า ระยะเวลาที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในช่วงวัน ธรรมดา ระยะเวลาที่เด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในช่วงวันหยุด จํานวนของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะ เนื้อหาของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในขณะเด็กใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่มี ความสัมพันธ์กับพัฒนาการของเด็กด้านการเคลื่อนไหว ( 2 = 620, p = 0803; 23990 p -0.531; 2 = 000, p = 1,000; 2 - 741, p = 0389 และ 2 = 3,860, p = 0.125 ตามลําดับ) ด้านกล้ามเนื้อมัด เล็กและสติปัญญา ( z = 2055, p = 0.152 2 = 0.804, p = 0358, 2 = 612, p = 0434; 2 = .001, p = 0.981; และ z = 1.1%, p = 0619ตามลําดับ) และด้านการใช้ภาษา ( x = .002, p = 0.963 2=0022, p = 0882x = 000, p = 1000, z = 1,559,p=0212 และ z = 3914, p=0.132 ตามลําดับ) ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็กวัย 2-5 ปี รวมถึงพ่อ แม่ หรือผู้ปกครอง บุคลากรของ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ควรตระหนักถึงผลกระทบของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่อพัฒนาการเด็กวัย 2-5 ปี โดยเฉพาะผลกระทบต่อพัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา นอกจากนี้ทุกฝ่ายควรร่วมกัน หาแนวทางในการส่งเสริมให้เด็กวัย 2-5 ปี มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเด็ก))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17186 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 645 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
434846.pdf | 3.12 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License