กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17085
ชื่อเรื่อง: การเตรียมและศึกษาคุณลักษณะของเมมเบรนที่ผลิตจากน้ำยางพาราเพื่อทำเป็นเมมเบรนระดับไมโครและอัลตราฟิลเตรชั่น
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Preparation and characterization of natural rubber latex membrane for micro-and ultra-filtration
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการเตรียมและศึกษาคุณลักษณะของเมมเบรนที่ผลิตจากน้ำยางพาราเพื่อทำเป็นเมมเบรนระดับไมโครและอัลตราฟิลเตรชั่น
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วิรัช ทวีปรีดา
Faculty of Science (Materials Science and Technology)
คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ
คำสำคัญ: น้ำยางพารา;ฟิล์มบาง;อัลตราฟิลเตรชั
วันที่เผยแพร่: 2553
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: In this research, membrane was prepared from preserved natural rubber latex (NRL) with the mixture of ammonia solution 0.2% with sodium dodecyl sulfate (SDS) 1% by weight of latex. The surface of prepared membrane is roughness with pore size 0.3 Um. Contact angle of water droplet on the rubber membrane surface was 44° and increased to 97° after vulcanization process. Hydraulic permeability coetficient (Lp) of the vulcanized membrane was 8.31x10-14 m3s-1N-1 which is reverse osmosis membrane (RO), After the vulcanized membrane degraded by thermal oxidation, the hydraulic permeability, coefficient (Lp) was increase to 1.27x10-12 m3s-1N-1 which is nanofiltration o membrane (NF), The vulcanized rubber membrane surface treatment using chlorination process found that the hydraulic permeability coefficicnt (Lp) was increase to 1.4 x 10-11 m3s-1 N-1 which is poly (ethylene glycol) was dense with high water and ethanol sorption depend on the blending ratio and molecular weight of poly (ethylene glycol).
Abstract(Thai): งานวิจัยนี้ได้เตรียมฟิล์มเยื่อบางจากน้ำยางธรรมชาติที่ผ่านการรักษาสภาพด้วยสารละลายผสมระหว่างแอมโมเนีย 0.2% กับโซเดียมโคเคคซิลซัลเฟต 1% โดยน้ำหนักน้ำยาง ผิวของฟีถัมเยื่อบางที่ได้จะมีลักษณะขรุขระ และเกิดรูพรุนขนาด 0.3 ไมครอน กระจายอยู่บนผิวของเมมเบรน มีค่ามุมสัมผัสของหยดน้ำบนผิวเมมเบรน 44° หลังจากผ่านการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลด้วยกำมะถันแล้ว พบว่าค่ามุมสัมผัสของฟิล์มเยื่อบางจะเพิ่มขึ้นเป็น 97° มีค่าสัมประสิทธิ์การให้ซึมผ่านน้ำของฟิล์มเยื่อบาง 8.31x1014 m3s -1N -1 อยู่ในกลุ่มของเยื่อแผ่นที่ใช้ในกระบวนการกรองระดับรีเวอสออสโมซิส แต่เมื่อทำให้ฟีล์มเยื่อบางเกิดการเสื่อมสภาพโดยปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ค่าสัมประสิทธิ์การให้ซึมผ่านน้ำของฟิล์มเยื่อบางจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.27x 1012 m3s-1 N-1 อยู่ในกลุ่มของเยื่อแผ่นที่ใช้ในกระบวนการกรองระดับนาโนฟิลเตรชั่น ในขณะที่การปรับปรุงผิวเมมเบรน โดยกระบวนการคลอริเนชั่นจะให้ฟีล์มเยื่อบางอยู่ในกลุ่มที่ใช้ในกระบวนการกรองระดับอัลตรัาฟิลเตรชั่น ด้วยค่าสัมประสิทธิ์การให้ซึมผ่านน้ำ 14 x10-12 m3s-1N-1 ในขณะที่ฟิล์มเยื่อบางที่ได้จากน้ำยางธรรมชาติที่ผสมสารละลายโพลีเอทิลีนไกลคอล มีผิวที่แน่นแต่มีค่าการดูดซับน้ำและเอทานอลที่เตกต่างกันขึ้นอยู่กับสัดส่วนการผสมระหว่างพอลิเมอร์และน้ำหนักโมเลกุลของโพลีเอทิลีนไกลคอล
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17085
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/237174
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:342 Research

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
378614-abstract.pdf947.08 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น