กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15937
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิตุพงศ์, ศรีขาว | - |
dc.contributor.author | ประเสริฐ, หมู่มาก | - |
dc.contributor.author | จิรัฏศวิญ, สีดอนซ้าย | - |
dc.date.accessioned | 2016-01-19T03:10:55Z | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-17T11:52:37Z | - |
dc.date.available | 2016-01-19T03:10:55Z | - |
dc.date.available | 2021-05-17T11:52:37Z | - |
dc.date.issued | 2007 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15937 | - |
dc.description.abstract | น้ำบาดาลแอ่งหาดใหญ่ เป็นแอ่งน้ำบาดาลที่รองรับด้วยชั้นน้ำบาดาลตะกอนหินร่วน ได้แก่ ชั้นหินให้ น้ำตะกอนน้ำพา และชั้นหินให้น้ำตะกอนน้ำพักลำน้ำ ตะกอนของชั้นหินตะกอนน้ำพาจะสะสมตัวในแนวเหนือใต้ ของแอ่ง มีความหนาของตะกอนตั้งแต่ 20-120 เมตร ชั้นน้ำของชั้นนี้เป็นชั้นน้ำบาดาลแบบไร้แรงดันถึงกึ่ง แรงดัน ปริมาณการให้น้ำตั้งแต่ 2-10 ลูกบาศก์ต่อชั่วโมง คุณภาพน้ำจืด บางพื้นที่เช่นบริเวณใกล้ทะเลสาบ สงขลาจะมีปริมาณสารละลายเหล็กค่อนข้างสูง สำหรับชั้นหินให้น้ำตะกอนตะพักลำน้ำ ตะกอนของชั้นหินให้น้ำ ประเภทนี้ตะกอนจะวางตัวเป็นแนวยาวบริเวณขอบแอ่งทั้งสองข้างลาดลงมากลางแอ่ง มีความหนาของตะกอน บริเวณกลางแอ่งมากกว่า 500 เมตร จัดเป็นชั้นน้ำกึ่งภายใต้แรงดันถึงน้ำบาดาลภายใต้แรงดัน ปริมาณการให้ น้ำประมาณ 1-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง คุณภาพน้ำจืด คุณสมบัติทางชลศาสตร์ของชั้นหินอุ้มน้ำทั้งสอง จะมีความต่อเนื่องถึงกัน ค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่าน และสัมประสิทธิ์การจ่ายน้ำ จะมีค่าน้อยบริเวณขอบแอ่งและจะมากขึ้นเมื่อเข้าสู่ใจกลางแอ่ง ชั้นหินให้น้ำตะกอน น้ำพามีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านตั้งแต่ 1- มากกว่า 100 เมตรต่อวัน สัมประสิทธิ์การจ่ายน้ำมีค่าตั้งแต่ 1- มากกว่า 500 ตารางเมตรต่อวัน และสัมประสิทธิ์การจ่ายน้ำจะมีค่าแตกต่างในแต่ละพื้นที่ มีค่าตั้งแต่ 1x10-3 – 1x10-6สำหรับชั้นหินให้น้ำตะกอนตะพักลำน้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านตั้งแต่ 0.5- มากกว่า 5 เมตรต่อวัน สัมประสิทธิ์การจ่ายน้ำมีค่าตั้งแต่ 5- มากกว่า 20 ตารางเมตรต่อวัน สำหรับสัมประสิทธิ์การกักเก็บมีค่าตั้งแต่ 1x 10-3 – 1x10 –8 คุณภาพน้ำบาดาลและระดับน้ำบาดาล น้ำบาดาลแอ่งหาดใหญ่มีคุณภาพดีในบริเวณกลางแอ่ง ส่วนพื้นที่ อื่นเช่นบริเวณขอบแอ่งและพื้นที่ทางทิศเหนือติดทะเลสาบสงขลา น้ำบาดาลมีปริมาณสารละลายเหล็กค่อนข้างสูง สำหรับระดับน้ำบาดาลแอ่งหาดใหญ่จะมีระดับขึ้นลงตามฤดูกาล เนื่องจากมีการเพิ่มเติมน้ำจากน้ำฝนโดยตรงจาก ขอบแอ่งทั้งสองข้าง | th_TH |
dc.language.iso | th_TH | th_TH |
dc.publisher | กรมทรัพยากรธรณี | th_TH |
dc.subject | คุณภาพสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม | th_TH |
dc.title | การประเมินศักยภาพแหล่งน้ำบาดาล แอ่งหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
การประเมินศักยภาพแหล่งน้ำบาดาล แอ่งหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น