กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15634
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสาราญ สะรุโณ-
dc.contributor.authorนลินี จาริกภากร-
dc.contributor.authorอุดร เจริญแสง-
dc.contributor.authorปัทมา พรหมสังคหะ-
dc.contributor.authorอาอีฉ๊ะ ละใบจิ-
dc.contributor.authorเสาวภาค รัตนสุภา-
dc.contributor.authorไพเราะ เทพทอง-
dc.contributor.authorชอ้อน พรหมสังคหะ-
dc.contributor.authorมานิตย์ แสงทอง-
dc.contributor.authorสมใจ จีนชาวนา-
dc.contributor.authorอริยธัช เสนเกตุ-
dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ ขุนไกร-
dc.date.accessioned2016-01-15T07:00:24Z-
dc.date.accessioned2021-05-17T11:36:07Z-
dc.date.available2016-01-15T07:00:24Z-
dc.date.available2021-05-17T11:36:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15634-
dc.description.abstractการวิจัยได้คิดค้นพัฒนาเทคนิคการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืช ผลการวิจัยสรุปว่า วิธีการผลิตพืชให้เพียงพอต่อการดารงชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชนควรดาเนินการดังนี้ คือ 1)พัฒนาการผลิตพืชรวม 9 กลุ่มให้มีชนิดและปริมาณพืชเพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ทุกด้านในครัวเรือน ส่วนในระดับชุมชนควรมีการร่วมกันปลูกพืชเพื่อสาธารณะประโยชน์ และจัดสร้างเรือนเพาะชาสาหรับการเพาะขยายพันธุ์พืช 2)พัฒนาภูมิปัญญาการผลิตพืช โดยการทาแปลงทดลองผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับผลงานวิจัยทางวิชาการ 3)จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อสนับสนุนความสาเร็จในการผลิตพืชโดยทาการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม พัฒนาความเป็นต้นแบบ “จัดเวทีวิจัยสัญจร”เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงกับเครือข่ายภายในและภายนอก และสร้างวาทกรรม “4 เสาหลักสู่ความพอเพียง” เพื่อสื่อความเข้าใจเทคนิคการพัฒนา ได้แก่ หัวใจพอเพียง , 9 พืชผสมผสานพอเพียง , ภูมิปัญญาภิวัตน์พอเพียง และดารงชีพพอเพียง 4)การวิจัยได้สร้างตัวชี้วัดระดับความพอเพียงในการผลิตพืช ได้แก่ ด้านความพอประมาณ : การลดต้นทุน เพิ่มรายได้ ปริมาณพืชใช้ประโยชน์ ความมั่นคงพืชอาหาร พืชกับความเป็นอยู่ พืชกับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ พืชกับความสุขมวลรวม ด้านความมีเหตุผล: การใช้เหตุ ใช้ผล ตรวจสอบติดตาม ความรู้ และคุณธรรมในการผลิตพืช ด้านภูมิคุ้มกัน : ภูมิคุ้มกันจากผลกระทบและการเพิ่มทุนในการดารงชีพ ซึ่งการนาตัวชี้วัดไปประเมินผลกระทบจากพัฒนา พบว่าทาให้คะแนนระดับความพอเพียงในการดารงชีพเพิ่มขึ้นจาก 3.51 เป็น 3.85 สัดส่วนรายได้ด้านพืชจากเดิมที่มีแนวโน้มลดลงกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 รายจ่ายทางการเกษตรลดลง ร้อยละ 56.0 ผลการวิจัยนี้ได้ทาให้เกิดรูปแบบความชัดเจนการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืชที่เป็นรูปธรรม เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อยอด และเป็นงานวิจัยที่สามารถนาไปกาหนดเป็นนโยบายการพัฒนาการผลิตพืชได้ทั่วประเทศ มีความครอบคลุมหลายมิติของการดารงชีพ มีความยั่งยืน เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรและชุมชนได้ทันทีth_TH
dc.language.isoth_THth_TH
dc.publisherสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตรth_TH
dc.subjectความไม่มั่นคงทางอาหารth_TH
dc.titleการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างth_TH
dc.typeOtherth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง.pdf701.91 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น