Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14607
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-02-18T08:07:24Z | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-17T10:45:58Z | - |
dc.date.available | 2016-02-18T08:07:24Z | - |
dc.date.available | 2021-05-17T10:45:58Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14607 | - |
dc.description.abstract | แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพโครงการเหมืองแร่ จัดทำขึ้นเพื่อสนับสนุนกระบวนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามนโยบายของรัฐบาลที่กำหนดให้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเป็นการดำเนินการที่บูรณาการกับการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นจากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 ซึ่งในประกาศกำหนดให้โครงการหรือกิจการ 34 ประเภทโครงการจะต้องทำการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกันรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย ปี พ.ศ. 2550 มาตรา 67 (2) ได้กำหนดให้การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดๆ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพจะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ทำการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม หรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็น ประกอบก่อนมีการดำเนินการดังกล่าว ซึ่งโครงการเหมืองแร่เป็นหนึ่งใน 34 โครงการที่ต้องทำการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งโครงการเหมืองแร่เป็นโครงการหรือกิจการที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอย่างรุนแรงต่อชุมชน กระทรวงสาธารณสุขมีพันธะกิจโดยตรงในการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประเมิน ผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) จึงได้จัดทำแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพโครงการเหมืองแร่ฉบับนี้ขึ้น โดยได้รับความร่วมมือจากนักวิชาการและหน่วยงานราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งได้จัดให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหลายครั้งเพื่อร่วมกันกำหนดกรอบแนวทางการประเมินผลกระทบให้ครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพ รวมทั้งแนวทางการป้องกันแก้ไขลดผลกระทบและแนวทางการติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อสุขภาพโครงการเหมืองแร่ เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาประเมินผลกระทบต่อสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ต่อไป | th_TH |
dc.language.iso | th_TH | th_TH |
dc.publisher | กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย | th_TH |
dc.subject | คุณภาพสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม | th_TH |
dc.title | แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพโครงการเหมืองแร่ | th_TH |
dc.type | Other | th_TH |
Appears in Collections: | 996 ธรรมาภิบาล |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพโครงการเหมืองแร่.pdf | 12.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.