Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันธณี วิรุฬห์พานิช-
dc.contributor.authorทัชมาศ ไทยเล็ก-
dc.date.accessioned2020-10-01T08:50:25Z-
dc.date.available2020-10-01T08:50:25Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13145-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเด็ก))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562en_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental study, two groups pretest-posttest control group design aimed to compare the effects of an enhancing self-efficacy in oral care mobile application on preventive behavior and occurrence of oral mucositis in school-age children with cancer receiving chemotherapy. The sample was school-age children with cancer, aged 7 to 12 years, receiving chemotherapy while admitted at Pediatric Ward 1, Suratthani Hospital. Purposive sampling was used to select sample into a control group (n = 26) and experimental group (n = 26). The experimental group received the usual nursing and enhancing self-efficacy in oral care mobile application that was developed from the self-efficacy theory (Bandura, 1997). The control group received the usual nursing care alone. Data collection was first conducted in the control group and then in the experimental group. Data were collected on day 1 before of chemotherapy and after 7, 14 and 21 days of chemotherapy in each group using the demographic data questionnaire, the mucositis preventive behavior form (day 1 and day 21), and the mucositis assessment form (days 1, 7, 14 and 21). All instruments were tested for content validity by three experts. The mucositis preventive behavior form was tested for reliability using test-retest, yielding the Pearson's correlation coefficient of 90. The mucositis assessment form was tested for reliability using inter-rater, yielding a value of 1. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square test, t-test, paired t-test, Mann-Whitney U test, Wilcoxon signed ranks test, and Friedman's test. The results revealed that: 1. The mean of mucositis preventive behavior in the experimental group after the intervention was significantly higher than that before the intervention (1=-15.03, p < .001). 2. The mean of mucositis preventive behavior after the intervention in the experimental group was significantly higher than that of the control group (t=-16.75, p < .001). 3. The mean ranks of mucositis occurrence were significantly different in the control group X=63.50, p < .001). There were significant differences of mean ranks of mucositis occurrence between Day 1 and Day 7 (Z= -4.28, p < .001), Day 1 and Day 14 (Z=4.46, p < .001), Day 1 and Day 21 (Z=-4.46, p<.001), Day 7 and Day 14 (Z=-3.71, p<.001), and Day 14 and Day 21 (Z=-3.92, p<.001), but not Day 7 and Day 21 (Z= -1.19, p > .05). The mean ranks of mucositis occurrence were significantly differenc in the experimental group = 11.67, p < .01). There were significant differences of mean ranks of mucositis occurrence between Day 1 and Day 7 (Z=-2.03, p< .05), Day 1 and Day 14 (Z=-2.03, p < .05), Day 1 and Day 21 (Z=-2.03, p<.05), Day 1 and Day 14 (Z=-2.03, p<.05), and Day 1 and Day 21 (Z=-2.03, p < .05), but not Day 7 and Day 14 (Z= -1.46, p > .05), Day 7 and Day 21 (Z= -1.10, p >.05), and Day 14 and Day 21 (Z=-1.60, p > .05). 4. The mean rank of mucositis occurrence was significantly lower in the experimental group than in the control group at Day 7 (Z=-5.02, p < .001), Day 14 (Z = -5.49, p < .001), and Day 21 (Z=-5.61, p=<.001). The result revealed that the effects of the enhancing self-efficacy in oral care mobile application can enhance mucositis preventive behavior resulting in decrease oral mucositis among school-age children with cancer receiving chemotherapy. Therefore, nurses should use this application to enhance self-efficacy in oral care before receiving chemotherapy, leading to mucositis reduction.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectปาก การดูแลและสุขวิทยาen_US
dc.subjectเยื่อบุช่องปาก โรคen_US
dc.subjectมะเร็งในเด็ก สุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectผู้ป่วยเด็ก สุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่en_US
dc.titleผลของโมบายแอปพลิเดชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมการป้องกันและการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดen_US
dc.title.alternativeEffects of the Enhancing Self-Efficacy in Oral Care Mobile Application on Preventive Behavior and Occurrence of Oral Mucositis in School-age Children With Cancer Receiving Chemotherapyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Pediatric Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบ 2 กลุ่มวัดผลก่อนและหลังการศึกษา เพื่อ เปรียบเทียบผลของโมบายแอปพลิเคชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรม การป้องกันและการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบําบัด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งอายุ 7-12 ปี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบําบัด ขณะเข้ารับการ รักษาในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตาม คุณสมบัติที่กําหนด โดยคัดเลือกเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 26 ราย กลุ่มทดลองได้รับโมบาย แอปพลิเคชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากที่พัฒนาภายใต้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะ แห่งตนของแบนดูรา (Bandura, 1997) ร่วมกับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บข้อมูลในกลุ่มควบคุมก่อนแล้วตามด้วยกลุ่มทดลอง ในวันที่ 1 ก่อนได้รับยาเคมีบําบัดและหลังได้รับ ได้ยาเคมีบําบัด วันที่ 7, 14 และ 21 โดยในแต่ละกลุ่มใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดพฤติกรรม การป้องกันเยื่อบุช่องปากอักเสบ (วันที่ 1 และวันที่ 21) และแบบประเมินการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบ (วันที่ 1, 7, 14 และ 21) ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และหา ค่าความเที่ยงของแบบวัดพฤติกรรมการป้องกันเยื่อบุช่องปากอักเสบ โดยวิธีการทดสอบซ้ํา ได้ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันเท่ากับ .90 และหาค่าความเที่ยงความเท่าเทียมกันของการสังเกต ระหว่างผู้วิจัยกับผู้ทรงคุณวุฒิ ของแบบประเมินการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบ ได้ค่าความเที่ยง เท่ากับ 1 วิเคราะห์และนําเสนอข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ สถิติทดสอบที สถิติทีคู่ สถิติแมน วิทนีย์ สถิติวิลคอกซิล และสถิติฟรีดแมน ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในกลุ่มทดลองหลัง ได้รับโมบายแอปพลิเคชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากสูงกว่าก่อนได้รับโมบาย แอปพลิเคชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = -15.03, P< .001) 2. คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในกลุ่มทดลองหลัง ได้รับโมบายแอปพลิเคชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ (t = -16.75, p < .001) 3. กลุ่มควบคุม มีการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ (X = 63.50, p < .001) โดยการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติ ระหว่าง วันที่ 1 กับ วันที่ 7 (Z = 4.28, p < .001) วันที่ 1 กับ วันที่ 14 (Z = -4.46, p< .001) วันที่ 1 กับ วันที่ 21 (Z = 4,46, p < .001) วันที่ 7 กับ วันที่ 14 (Z = -3.71, p < .001) และวันที่ 14 กับ วันที่ 21 (Z = -3,92, p < .001) ส่วนวันที่ 7 กับวันที่ 21 พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันในการเกิดภาวะ เยื่อบุช่องปากอักเสบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (Z= -1.19, p> 05) สําหรับกลุ่มทดลอง มีการเกิดภาวะ เยื่อบุช่องปากอักเสบในแต่ละช่วงเวลาแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (X = 11.67, p < .01) โดย การเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ระหว่างวันที่ 1 กับ วันที่ 7 (Z= -2.03, p < .05) วันที่ 1 กับ วันที่ 14 (Z = -2.03, p < .05) และวันที่ 1 กับ วันที่ 21 (Z= -2.03, p < .05) ส่วนวันที่ 7 กับ วันที่ 14 (Z=-1.46,p> .05) วันที่ 7 กับ วันที่ 21 (Z=-1.10, p> .05) และวันที่ 14 กับวันที่ 21 (Z= -1.60, p> .05) พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันในการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติ 4. คะแนนเฉลี่ยอันดับการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในกลุ่มทดลองต่ํากว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ในวันที่ 7 (Z=-5.02,p< .001) วันที่ 14(Z=549,p< .001) และวันที่ 21 (Z=561, p=< .001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโมบายแอปพลิเคชันการเสริมสร้างสมรรถนะการดูแลสุขภาพ ช่องปาก มีผลทําให้ผู้ป่วยเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมในการป้องการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบมากขึ้น ส่งผล ให้ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบน้อยลง ดังนั้นพยาบาลสามารถนําโมบายแอปพลิเคชันไปใช้ เพื่อเสริม สร้างสมรรถนะในการดูแลสุขภาพช่องปากก่อนเริ่มได้รับยาเคมีบําบัด เพื่อนําไปสู่การลดการเกิดเยื่อบุ ช่องปากอักเสบ-
Appears in Collections:645 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
437820.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons