Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขวัญตา ขาวมี-
dc.contributor.authorวสิทธิ์ แซ่เตียว-
dc.date.accessioned2020-10-01T07:43:28Z-
dc.date.available2020-10-01T07:43:28Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม (การจัดการทรัพยากรดิน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562en_US
dc.description.abstractDue to low rubber price problem, various agencies are implementing to find a way to solve the problem. Rubber based intercropping is a way to raise farmer incomes and also increases plant residues to the soil. Addition of the plant residues increased soil organic matter as an indicator of soil fertility. Therefore, physico-chemical properties and the organic carbon composition of soils under different rubber-based intercrops were studied. In addition, the amount of rubber- based intercrop residues return to the soil, biochemical composition, plant nutrient content in plant residues and changes in soil nitrogen (N), phosphorus (P) and organic carbon (C) composition resulting from different rubber-based intercrop residues were also studied. Rubber growing soils were sampled from rubber monoculture, rubber- bamboo, rubber-Hopea odorata (Ta-khian) and rubber-Gnetum gnemon (Phak-liang) to evaluate soil properties and organic carbon composition. The result showed that soil saturated hydraulic conductivity in the rubber-based intercrop growing soils tended to be higher than in the rubber monoculture growing soil. The rubber- Phak-liang growing soils tended to gave the highest primary and secondary macronutrient contents and aliphatic group but tended to be the lowest carboxyl and polysaccharide group. In addition. the amount of plant residue returning to the soil was the highest in the rubber-bamboo plot while the lowest values was recorded in the rubber-Ta-khian plots. However, Phak-liang residue had the highest amount of primary macronutient and C:N, C:P and L:N ratios were the narrowest range. For soil incubation with 3 types of plant residue, the result showed that soil incubation with Phak-liang leaves had the highest amount of N and P release from plant residue affecting to the highest amount of available N and P in soil. In addition, there were relatively high amount of remaining C and decreasing rate of aliphatic group was the lowest. The results from the field and in the laboratory indicates that Phak-liang is an interesting plant to intercrop with rubber for improving soil fertility.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการปรับปรุงดินen_US
dc.subjectการทับถมของใบไม้en_US
dc.subjectความสมบูรณ์ของดินen_US
dc.subjectยางพารา ดินen_US
dc.titleองค์ประกอบของคาร์บอนอินทรีย์และสมบัติของดินภายใต้พืชร่วมยางพาราที่แตกต่างกันen_US
dc.title.alternativeOrganic Carbon Composition and Properties of Soils Under Different Rubber-based Intercropsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Natural Resources (Earth Science)-
dc.contributor.departmentคณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาธรณีศาสตร์-
dc.description.abstract-thจากปัญหาราคายางพาราตกต่ําทําให้หน่วยงานต่าง ๆ หาแนวทางในการแก้ปัญหา การปลูกพืชร่วมยางพารานอกจากจะเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรแล้ว ยังเป็นการเพิ่มปริมาณเศษซาก พืชลงสู่ดิน ทําให้ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น อินทรียวัตถุเป็นอีกหนึ่งตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ ของดิน ดังนั้นจึงศึกษาสมบัติทางฟิสิกส์ เคมีบางประการ และองค์ประกอบของคาร์บอนอินทรีย์ในดิน ภายใต้พืชร่วมยางพาราที่แตกต่างกัน รวมทั้งประเมินปริมาณเศษซากพืชร่วมยางพาราที่กลับสู่ดิน องค์ประกอบทางชีวเคมี และปริมาณธาตุอาหารพืชในเศษซากพืชร่วมยางพารา และศึกษาผลของเศษ ซากใบพืชร่วมยางพาราต่อการเปลี่ยนแปลงไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และองค์ประกอบของคาร์บอน อินทรีย์ในดิน โดยเก็บตัวอย่างดินจากแปลงยางพาราเชิงเดี่ยว ไผ่ร่วมยางพารา ตะเคียนร่วมยางพารา และผักเหลียงร่วมยางพารา เพื่อวิเคราะห์สมบัติและองค์ประกอบของคาร์บอนอินทรีย์ในดิน พบว่า สภาพการนําน้ําของดินขณะอิ่มตัวในแปลงที่ปลูกพืชร่วมยางพารามีแนวโน้มสูงกว่าแปลงที่ปลูก ยางพาราเชิงเดี่ยว แปลงที่ปลูกผักเหลียงร่วมยางพารามีแนวโน้มธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และ หมู่อะลิฟาติกสูงที่สุด แต่หมู่คาร์บอกซิลและพอลิแซ็กคาไรด์มีแนวโน้มต่ําที่สุด นอกจากนี้ พบว่า ปริมาณเศษซากที่ล่วงลงสู่ดินในแปลงที่ปลูกไผ่ร่วมยางพาราสูงที่สุด และในแปลงที่ปลูกตะเคียนร่วม ยางพาราต่ําที่สุด แต่เศษซากใบผักเหลียงมีปริมาณธาตุอาหารหลักและปริมาณธาตุอาหารหลักที่คืน กลับสู่ดินสูงที่สุด และมีอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน คาร์บอนต่อฟอสฟอรัส และลิกนินต่อ ไนโตรเจนอยู่ในช่วงที่แคบที่สุด ผลการบ่มดินร่วมกับเศษซากใบพืชร่วมยางพาราทั้ง 3 ชนิด พบว่า ทรีตเมนต์ที่บ่มดินร่วมกับเศษซากใบผักเหลียงมีการปลดปล่อยไนโตรเจนและฟอสฟอรัสจากเศษซาก ส่งผลให้มีปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงที่สุด และยังพบว่า มีปริมาณ คาร์บอนอินทรีย์คงเหลือค่อนข้างสูง อัตราการลดลงของหมู่อะลิฟาติกเมื่อสิ้นสุดการทดลองต่ําที่สุด และยังมีการเปลี่ยนแปลงของคาร์บอกซิลต่ออะลิฟาติกต่ําที่สุด จากข้อมูลที่ได้ในแปลงและในห้องปฏิบัติการชี้ให้เห็นว่า ผักเหลียงเป็นพืชที่น่าสนใจที่จะนํามาปลูกร่วมยางพาราเพื่อปรับปรุงความ อุดมสมบูรณ์ของดิน-
Appears in Collections:542 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
437888.pdf3.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons