Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13031
Title: An Analysis of the Comparative Advantage of Thai Tourism with Chinese Tourists Compared to Other ASEAN+6 Countries
Other Titles: วิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันการท่องเที่ยวของประเทศไทย ในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน +6
Authors: Prateep Wetprasit
Sauwanee Rodyu
Faculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)
คณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว
Keywords: Tourism Thailand;Thailand Description and travel
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: The tourism industry is a very important part of the Thai economy. The purpose of this study was to investigate the potential of Thai tourism and to analyze the competitive advantage of Thai tourism with Chinese tourists compared to other ASEAN + 6 countries except China from 2000 to 2015. The investigation of the competitive advantage of Thai tourism with Chinese tourists compared to other ASEAN + 6 countries except China was analyzed by the Revealed Comparative Advantage a methodology. The result of the study demonstrated that Vietnam had the greatest RCA with the Chinese tourists followed by Korea, Laos, Japan, Thailand, Australia, Singapore, Cambodia, New Zealand, The Philippines, Myanmar, Brunei, Malaysia, Indonesia, and India. Firstly, Vietnam, Korea, Laos, Japan, and Thailand have tourism competitiveness with Chinese tourists throughout the whole period of study. The largest RCA for Vietnam, Korea, Laos, Japan, and Thailand were 9.68, 12.69, 6.97, 4.35, and 4.62 in 2000, 2013, 2001, 2012, and 2013 respectively. The result of the study found that Laos, Japan, and Singapore were competitors of Thai tourism with Chinese tourists. Secondly, Australia, Singapore and Cambodia had tourism comparative advantage almost every year of study except one year. Thirdly, New Zealand, The Philippines, Myanmar, Brunei, Malaysia, and Indonesia had no tourism competitive advantage with Chinese tourists in the same period. For example, The Philippines, Brunei, and Indonesia had no competitiveness in the first period but they had tourism competitive advantage in the last period. Lastly, India had no tourism competitive advantage with Chinese tourists throughout the whole year of study. It was shown that the RCA index was less than 1 the whole year of study. In conclusion, Thai tourism had a competitive advantage with the Chinese tourists in 2000 to 2015. It can predict that the trend of Chinese tourists visiting Thailand will increase in the future. Countries in ASEAN +6 had different tourism comparative advantages with Chinese tourists. It depends on the situation, law, and tourism strategies in each country.
Abstract(Thai): การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศักยภาพการท่องเที่ยวของประเทศไทย และ 2) วิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยในกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวจีน โดยเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน + 6 ยกเว้นประเทศจีน โดย รวบรวมข้อมูลจากสถิติรายได้ ที่ได้จากนักท่องเที่ยวชาวจีนในประเทศอาเซียน + 6 ยกเว้นประเทศ จีน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบอนุกรมเวลา (Time Series) ตั้งแต่ปีค.ศ. 2000 ถึง 2015 รวม ระยะเวลา 16 ปี การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา และใช้ดัชนีความได้เปรียบ โดย เปรียบเทียบที่ปรากฏ (Revealed Comparative Advantage: RCA) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผลการศีกษาพบว่าประเทศไทยมีศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และมีความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว ในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน ตลอดระยะเวลา การศึกษารวมถึงแนวโน้มของนักท่องเที่ยวชาวจีน ที่จะเดินทางเข้ามาประเทศไทย มีเพิ่มมากขึ้น ด้วยในอนาคต และจากการศึกษา พบว่า ประเทศที่เป็นคู่แข่งด้านการท่องเที่ยวที่สําคัญของประเทศ ไทยในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน คือ ประเทศลาว ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ ส่วนประเทศอื่นๆ ในอาเซียน + 6 มีความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน ที่แตกต่างกัน ประเทศเวียดนาม เป็นประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยวในกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวจีนดีที่สุด รองลงมา ได้แก่เกาหลีใต้ ลาว ญี่ปุ่น ไทย ออสเตรเลีย สิงคโปร์ กัมพูชา นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ พม่า บรูไน มาเลเซีย อินโดนีเซีย และอินเดีย ตามลําดับโดยสามารถแบ่ง ผลการศีกษาออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 คือประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว ตลอดช่วงเวลาการศึกษา 16 ปี ได้แก่ เวียดนาม เกาหลีใต้ ลาวญี่ปุ่น และไทย ตามลําดับ โดยมีค่า ดัชนี ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏสูงสุด ของแต่ละประเทศอยู่ที่ 9.68 12.69 6.97 4.35 และ 4.62 ในปีค.ศ. 2000 2013 2001 2012 และ 2013 ตามลําดับ กลุ่มที่สอง คือ ประเทศที่มี ความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว สําหรับนักท่องเที่ยวชาวจีน เกือบทุกปี ยกเว้นหนึ่งปี ได้แก่ ออสเตรเลีย สิงคโปร์ และกัมพูชา และกลุ่มที่ 3 คือ ประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยว สําหรับกลุ่มนักท่องที่ยวชาวจีน ในบางช่วงของเวลาการศึกษาเท่านั้น ได้แก่ นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ พม่า บรูไน มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ตัวอย่างเช่น ฟิลิปปินส์ บรูไน และ อินโดนีเซีย ไม่มีความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยว สําหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน ในช่วงปีแรกๆ ของการศึกษา แต่มีความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยว สําหรับกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวจีน ในช่วงปีหลังๆ ของการศึกษา เป็นต้น และสุดท้าย คือ ประเทศอินเดีย เป็น ประเทศเดียวในอาเซียน + 6 ที่ไม่มีความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว สําหรับกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวจีน ตลอดระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต่ปีค.ศ. 2000 ถึง 2015 จากการศึกษา พบว่า ประเทศในอาเซียน + 6 มีความสามารถในการแข่งขันด้าน การท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน ที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับสถานการณ์และกลยุทธ์ทาง การตลาดของแต่ละประเทศ
Description: Thesis (M.B.A., Hospitality and Tourism Management (International Program))--Prince of Songkla University, 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13031
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
432073.pdf528.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.