กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12603
ชื่อเรื่อง: | ความเต็มใจที่จะจ่ายสำหรับโยเกิร์ตที่ใช้บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ของผู้บริโภคในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Consumer Willingness to Pay for Biodegradable Packaging Yogurt in Hat Yai District, Songkhla Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | สิริรัตน์ เกียรติปฐมชัย ติยพร ชูโฉม คณะเศรษฐศาสตร์ (การจัดการธุรกิจเกษตร) |
คำสำคัญ: | พฤติกรรมผู้บริโภค หาดใหญ่ (สงขลา) |
วันที่เผยแพร่: | 2019 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
บทคัดย่อ: | The purposes of this study were to investigate the social and economic characteristics of the consumers, yogurt consumption behavior, knowledge and attitude regarding biodegradable packaging, and the willingness to pay (WTP) for biodegradable packaging yogurt in Hat Yai district, Songkhla province. Data were collected from 400 yogurt consumers. Data were analyzed by using descriptive statistics. In addition, Interval Data Method was applied to evaluate WTP. The results revealed that most of the consumers were female and an average age was 32 years old. The consumers (54.3%) obtained at least a Bachelor degree. Their personal income was 21,891 Baht/month on average. The consumers (35.5%) consumed yogurt due to nutrition and digestion benefits. The consumers spent 58.31 Baht for each purchase and 75.3% preferred to buy cup yogurt at convenience and grocery stores (82.5%). The consumers (94.7%) agreed that marketing promotion affect their decisions to buy cup yogurt, especially via TV and internet (42.7%). The consumers have moderate knowledge regarding biodegradable packaging, but have positive attitude towards biodegradable packaging. The result of WTP estimation revealed that the consumers are willing to pay extra 4.81 Baht/ cup for biodegradable packaging (size 135 ml.). The extra WTP has a positive relationship with yogurt expense for each purchase (p-value < .01) and attitude on biodegradable packaging (p-value < .05). Conversely, it has negative relationship with the quantity purchased (p-value < .05). |
Abstract(Thai): | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ พฤติกรรม การบริโภคโยเกิร์ต ความรู้และทัศนคติ และความเต็มใจที่จะจ่าย (WTP) สําหรับโยเกิร์ตที่ใช้บรรจุภัณฑ์ ย่อยสลายได้ของผู้บริโภคในอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริโภค โยเกิร์ต 400 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และใช้แบบจําลอง Interval Data Method เพื่อประมาณค่า WTP ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคร้อยละ 67.5 เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 32.04 ปี ร้อยละ 54.3 มีการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาตรี มีรายได้ส่วนบุคคลเฉลี่ย 21,891 บาทต่อเดือน ร้อยละ 35.5 รับประทานโยเกิร์ต เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารและช่วยเรื่องการขับถ่าย มีค่าใช้จ่าย ในการซื้อโยเกิร์ตเฉลี่ย 58.31 บาทต่อครั้ง ร้อยละ 75.3 ซื้อโยเกิร์ตแบบถ้วย ร้อยละ 82.5 ซื้อจาก ร้านสะดวกซื้อและร้านขายของชํา ผู้บริโภคร้อยละ 94.7 เห็นว่าการส่งเสริมการขายมีผลต่อ การตัดสินใจซื้อโยเกิร์ตแบบถ้วย โดยร้อยละ 42.7 เห็นผ่านช่องทางโทรทัศน์และอินเตอร์เน็ต ผู้บริโภคมีความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ในระดับปานกลาง แต่มีทัศนคติที่ดีต่อบรรจุภัณฑ์ ย่อยสลายได้ สําหรับผลการประมาณค่า WTP พบว่า ผู้บริโภคเต็มใจที่จะจ่ายเพิ่มขึ้น 4.81 บาท ต่อถ้วย สําหรับโยเกิร์ตที่ใช้บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ (ขนาด 135 ml.) และค่าความเต็มใจที่จะจ่าย เพิ่มขึ้นมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญในทิศทางเดียวกันกับค่าใช้จ่ายในการซื้อโยเกิร์ตต่อครั้ง (p-value < .01) ทัศนคติเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ (p-value < .05) แต่มีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสําคัญในทิศทางตรงกันข้ามกับจํานวนโยเกิร์ตที่ซื้อต่อครั้ง (p-value < .05) |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (การจัดการธุรกิจเกษตร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12603 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 878 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
437565.pdf | 2.55 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น