Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12579
Title: | อิทธิพลระหว่างการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมกับผลตอบแทนผู้ถือหุ้น : กรณีศึกษาบริษัทที่ได้รับการจัดอันดับธุรกิจด้านการพัฒนาความยั่งยืน / ภัณฑิรา มณีไพรัตน์ |
Other Titles: | The influence of corporate responsibility disclosure and return of equity : Case study of companies have been rated by Thailand sustainability investment |
Authors: | มัทนชัย สุทธิพันธุ์ ภัณฑิรา มณีไพรัตน์ คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาการบัญชี Faculty of Management Sciences (Accountancy) |
Keywords: | การเปิดเผยข้อมูลทางการบัญชี ไทย;บริษัทมหาชน การบัญชี |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Abstract: | This study aimed to investigate level of corporate social responsibility (CSR) disclosure in annual reports, to compare different level of CSR disclosure between companies, and to test an influence of CSR disclosure on return on equity. Population and sample were listed companies in the Stock Exchange of Thailand (SET) by using annual reports during 2015 to 2017. Descriptive analysis, independent sample t-test, and multiple regression were used to analyse the data. As the result, the most common CSR disclosure was in corporate governance, While the less common disclosure was in community development. There was a significantly different level of CSR Disclosure between rating companies on sustainability and non-rating companies on sustainability. Moreover, there was positive influence of corporate governance on equity. |
Abstract(Thai): | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยการเปิดเผยข้อมูล ความรับผิดชอบต่อสังคมสําหรับบริษัทถูกจัดอันดับหุ้นยั่งยืนและบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แต่ ไม่ได้รับการจัดอันดับหุ้นยั่งยืน และศึกษาอิทธิพลของการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมกับ ผลตอบแทนผู้ถือหุ้นของทั้ง 2 กลุ่มบริษัท ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยมี 2 กลุ่ม กลุ่มแรก เป็นประชากรกลุ่มบริษัทถูกจัดอันดับหุ้นยั่งยืนโดยสถาบันไทยพัฒน์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (SET) ในปี พ.ศ. 2558 - 2560 (69 บริษัท) และกลุ่มที่สอง คือ บริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) แต่ไม่เคยถูกจัดอันดับหุ้นยั่งยืน 69 บริษัท) ทดสอบโดยใช้ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยการเปิดเผยข้อมูลความ รับผิดชอบต่อสังคมสําหรับทั้ง 2 กลุ่มบริษัท พบว่า การเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมตาม มาตรฐานว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมของกลุ่มบริษัทที่ได้รับการจัดอันดับหุ้นยั่งยืน ทุกหัวข้อมี ค่าเฉลี่ยที่สูงกว่ากลุ่มบริษัทที่ไม่ได้รับการจัดอันดับหุ้นยั่งยืนอย่างมีนัยสําคัญ และการวิเคราะห์ อิทธิพลการเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมกับผลตอบแทนผู้ถือหุ้น พบความแตกต่างระหว่าง ทั้ง 2 กลุ่มในหัวข้อกํากับดูแลองค์กรเท่านั้น นั่นคือ การเปิดเผยข้อมูลการกํากับดูแลองค์กรของบริษัท ที่ถูกจัดอันดับหุ้นยั่งยืนมีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลตอบแทนผู้ถือหุ้น แต่สําหรับการเปิดเผยข้อมูลความ รับผิดชอบต่อสังคมในหัวข้ออื่นๆ ไม่พบว่ามีอิทธิพลต่อผลตอบแทนผู้ถือหุ้นทั้งในกลุ่มทั้งบริษัทที่ถูกจัด อันดับหุ้นยั่งยืนและบริษัทที่ไม่ได้รับการจัดอันดับ |
Description: | วิทยานิพนธ์ (บช.ม. (บัญชี) )--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12579 |
Appears in Collections: | 464 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
435548.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.