Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrateep Wetprasit-
dc.contributor.authorTeerapan Panyadee-
dc.date.accessioned2020-01-30T09:03:55Z-
dc.date.available2020-01-30T09:03:55Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12514-
dc.descriptionThesis (M.B.A., Hospitality and Tourism Management (International program))--Prince of Songkla University, 2018en_US
dc.description.abstractThe objective of this study are (1) to determine the socio-demographic characteristics and travel patterns of gap year tourists travelling to Thailand, (2) to identify the influential factors on gap year tourists' motivation for travelling to Thailand, (3) to identify the influential factors decision-making behavior on gap year tourists have made in term of choice of destinations, transportations, activities, accommodations and foods whilst travelling in Thailand and (4) to develop guidelines for promoting and improving tourism products and services for gap year tourist to visit Thailand. There were 405 effective questionnaires were analyzed in SPSS program. The questionnaires were distributed in Bangkok, Phuket, Chiang Mai and Koh Samui at major tourist attractions, budget accommodations and transportation hubs. The finding revealed that the three main motivation that attract gap year tourist to visit Thailand were: to learn and experience another culture, to learn and experience another country, and to find thrill and adventure. Whereas, important attributes of gap year tourists' decision-making on tourism products and services were; friend and relative recommendation, natural and cultural, new and unique location, price, atmosphere and location of accommodation, and taste, freshness and hygiene of food. In addition, difference demography and travel plan of gap year tourist have difference motivation and decision-making on tourism products and services. The result of finding were discussed with other literatures to create the guideline for Thai government and private sectors in order to manage tourism products and do marketing plan in the future.-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.subjectTourismen_US
dc.subjectTouristsen_US
dc.subjectVisitors, foreignen_US
dc.titleGap year tourists' motivation and decision-making behavior in Thailanden_US
dc.title.alternativeแรงจูงใจและพฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวแก็ปเยียร์ในประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Hospitality and Tourism (Hospitality and Tourism Management)-
dc.contributor.departmentคณะการบริการและการท่องเที่ยว สาขาวิชาการจัดการการบริการและการท่องเที่ยว-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากรศาสตร์และ การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวแก็ปเยียร์ที่เดินทางมายังประเทศไทย (2) เพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ แรงจูงใจในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยของนักท่องเที่ยวแค็ปเยียร์ (3) เพื่อหาปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวแค็ปเยียร์ต่อการเลือกจุดหมายปลายทางการ คมนาคม กิจกรรมการท่องเที่ยว ที่พัก และอาหาร ในขณะเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย (4) จัดทําแนวทางในการส่งเสริมและปรับปรุงสินค้าและการบริการทางการท่องเที่ยวสําหรับ นักท่องเที่ยวแก็ปเยียร์เพื่อเดินทางมาท่องเที่ยวยังประเทศไทย แบบสอบถามจํานวน 405 ชุดได้ถูก นําไปวิเคราะห์ในโปรแกรม SPSS แหล่งที่เก็บข้อมูลคือ กรุงเทพฯ ภูเก็ต เชียงใหม่ และเกาะสมุย ในสถานที่ท่องเที่ยวสําคัญ ที่พักราคาประหยัด และศูนย์กลางการคมนาคม การศึกษาครั้งนี้พบว่าแรงจูงใจหลักสามประการที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวแก๊ปเยียร์เข้า มาในประเทศไทยคือ การเรียนรู้และสัมผัสกับวัฒนธรรมอื่น การเรียนรู้และสัมผัสกับประเทศอื่น และการแสวงหาความตื่นเต้นและการผจญภัย และปัจจัยที่สําคัญในการตัดสินใจซื้อเกี่ยวกับสินค้า และบริการด้านการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวแก๊ปเยียร์ ได้แก่ การแนะนําของเพื่อนและญาติ แหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยวแปลกใหม่ ราคาของสินค้าและบริการ บรรยากาศและที่ตั้งของที่พัก และอาหารที่มีรสชาติดี สดใหม่ และสะอาด การวิจัยยังพบว่าความ แตกต่างด้านประชากรศาสตร์และแผนการเดินทางของนักท่องเที่ยวที่แตกต่างกันมีผลต่อแรงจูงใจ และการตัดสินใจเลือกสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวที่ต่างกัน ผลของการวิจัยได้ถูกนํามา เปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นเพื่อสร้างแนวทางสําหรับภาครัฐและเอกชนในเมืองไทยในการปรับปรุง สินค้าและบริการทางการท่องเที่ยวและวางแผนการตลาดในอนาคต-
Appears in Collections:816 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426597.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.