Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12447
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพมาส ชิณวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ดาลิมา สำแดงสาร | - |
dc.date.accessioned | 2019-11-26T03:59:31Z | - |
dc.date.available | 2019-11-26T03:59:31Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12447 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | Hypertension is a common problem in the elderly. This descriptive research aimed to identify factors related to treatment adherence and complementary health behaviors in older persons with hypertension. The sample were 197 older persons with hypertension who received treatment at the Outpatient Clinic, Maharaj Nakhon Si Thammarat Hospital, from February to May 2017. Data were collected by interview. Research instruments used for data collection were questionnaires consisting of 6 parts: 1) Personal information, 2) Health information and access to health service, 3) Social support, 4) Perceived severity and risk of complication from hypertension, 5) Treatment adherence to hypertension, and 6) Complementary health behaviors. The reliability of instruments part two to six were tested using Cronbach's alpha coefficient, showed 0.81, 0.82, 0.85, 0.85 and 0.75 respectively. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-Square and Pearson's product moment correlation coefficient. The test statistics were statistically significant at the .05 level. Results revealed the following: 1. Treatment adherence to hypertension of older persons was at a high level (M = 1.63, SD = .29). 2. Complementary health behaviors of older persons with hypertension was at a low level (M = .22, SD = .12). 3. Occupation, marital status and social support were related to treatment adherence in older persons with hypertension, and significant at .05 and .01, respectively (x2 = 4.77, p < .05, x2 = 5.34, p < .05 and r = .27, p < .01) and occupation was related to complementary health behaviors, and significant at .05 (x2 = 8.31, p < .05). The results of this study can be used as a basis data for encouraging older persons with hypertension to maintain treatment adherence. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | ความดันเลือดสูงในผู้สูงอายุ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการรักษาและพฤติกรรมสุขภาพแบบผสมผสานในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง | en_US |
dc.title.alternative | Factors related to treatment adherence and Complementary Health Behaviors in Older Persons with Hypertension | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Medical Nursing) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | ความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สําคัญในผู้สูงอายุ การวิจัยเชิงพรรณนานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการรักษาและพฤติกรรมสุขภาพแบบ ผสมผสานของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง จํานวน 197 คนที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม 2560 เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลแบ่ง ออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบบันทึกข้อมูลสุขภาพและการเข้าถึง บริการสุขภาพ 3) แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม 4) แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงและ ความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 5) แบบสอบถามความร่วมมือในการรักษาโรค ความดันโลหิตสูง และ 6) แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพแบบผสมผสาน คํานวณหาค่าความเชื่อมั่น ของเครื่องมือส่วนที่ 2-6 โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach's alpha coefficient) เท่ากับ 0.81, 0.82 0.85, 0.85, และ 0.75 ตามลําดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ (Chi-Square) และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's Product Moment Correlation Coefficient โดยกําหนดระดับ นัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษาพบว่า (M = 1.63, SD = 29) 1. ความร่วมมือในการรักษาของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2. พฤติกรรมสุขภาพแบบผสมผสานของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงโดยรวมอยู่ ในระดับต่ํา (M = 22, SD = 12) 3. อาชีพ สถานภาพสมรส และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับความ ร่วมมือในการรักษาของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (X = 4.77, p < .05, 2 = 5.34, p < .05 และ r = 27, p < .01 ตามลําดับ) และอาชีพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม สุขภาพแบบผสมผสานในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (X = 8.31, p < .05) ผลการศึกษาสามารถนําไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุโรคความดัน โลหิตสูงมีความร่วมมือในการรักษาต่อไป | - |
Appears in Collections: | 646 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
426751.pdf | 1.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.