Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12438
Title: The vocational students' use of vocabulary learning strategies and their vocabulary knowledge
Other Titles: การใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คำศัพท์และระดับความรู้คำศัพท์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา
Authors: Usa Intharaksa
Natcha Puagsang
Faculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics)
คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์
Keywords: Learning strategies Vocabulary;Learning ability
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: The purposes of this study were 1) to identify the vocabulary learning strategies (VLSs) 2) to explore the vocabulary levels 3) to investigate the relationship between VLSS and vocabulary levels of 242 first year high vocational certificate students from three fields of study including engineering, accounting, and hotel and tourism in five government vocational colleges in Krabi province in the second semester of the academic year 2014. A VLSS questionnaire, a vocabulary level test, and a semi-structure interview were used as the instruments in this study. The statistics employed to analyze data in this study were mean scores, standard deviation, ANOVA, and Pearson's Correlation. The findings revealed that the students employed all five categories (determination strategies, social strategies, memory strategies, cognitive strategies and metacognitive strategies) at the frequency level of sometimes. Social strategies were ranked as the most frequently used. In addition, the use of five out of 39 VLSs was significantly different among the students from the three fields of study. The findings from the Vocabulary Level Test (VLT) showed that the students' average scores of 1000 and 2000-word level were higher than those of 3000, 4000 and 5000- word level. With regard to the relationships between VLSs used by participants and their vocabulary knowledge, there were weak significant correlations between all five strategies categories at the 1000 and 2000-word levels. In addition, the relationships between VLSS and vocabulary level of students in the three fields of study were explored. For the engineering students, it was reported that their 2000-word level knowledge was significant correlated with cognitive and metacognitive strategies at a very weak level. For the hotel and tourism students, it revealed that their 1000-word level knowledge was correlated with determination, memory, and metacognitive strategies at a weak level. Moreover, their 4000-word level knowledge was correlated with determination and metacognitive strategies at a weak level. Conversely, the correlation between these two variables was not found among accounting students. In order to improve student's vocabulary knowledge, teachers might suggest students employ a wider range of VLSS.
Abstract(Thai): การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์ 2) ระดับ ความสัมพันธ์ของการใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์และระดับคําศัพท์ของนักศึกษา อาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 จํานวน 242 คน ใน 3 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาบัญชี และสาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยวในวิทยาลัย อาชีวศึกษา 5 แห่งในจังหวัดกระบี่ ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามกลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์ แบบทดสอบระดับความรู้คําศัพท์ และแบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างสถิติที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์ทั้ง ห้ารูปแบบ (กลวิธีการหาความหมายด้วยตัวเอง กลวิธีทางสังคม กลวิธีการจํา กลวิธีเชิงพุทธิปัญญา และกลวิธีพหุปัญญา) ที่ระดับความถี่บางครั้ง นักศึกษาใช้กลวิธีทางสังคมมากที่สุด นอกจากนี้การ ใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์ 5 กลยุทธ์จากทั้งหมด 39 กลยุทธ์ของนักศึกษาทั้งสามสาขาวิชามีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลจากแบบทดสอบระดับความรู้คําศัพท์แสดงให้เห็นว่า ค่าเฉลี่ยความรู้คําศัพท์ของนักศึกษาในระดับคําศัพท์ 1000 และ 2000 คําสูงกว่าค่าเฉลี่ยของความรู้ คําศัพท์ในระดับ 3000-4000 และ 5000 คํา ในแง่ความสัมพันธ์พบว่า การใช้กลยุทธ์การเรียนรู้ คําศัพท์ภาษาอังกฤษทั้งห้ารูปแบบมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับระดับคําศัพท์ 1000 และ 2000 คํา ใน ระดับต่ํานอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์และระดับความรู้ คําศัพท์ของนักศึกษาทั้งสามสาขาวิชา ความรู้ด้านคําศัพท์ของนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ที่ระดับ 2000 คํา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับกลวิธีเชิงพุทธิปัญญาและกลวิธีพหุปัญญาอย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติในระดับต่ํา นอกจากนั้น ความรู้คําศัพท์ของนักศึกษาการโรงแรมและการท่องเที่ยวที่ระดับ 1000 คํา สัมพันธ์เชิงบวกกับกลวิธีการหาความหมายด้วยตัวเอง กลวิธีการจําและกลวิธีพหุปัญญา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับต่ํา อีกทั้งความรู้คําศัพท์ที่ระดับ 4000 คํา ยังมีความสัมพันธ์เชิงบวก กับกลวิธีการหาความหมายด้วยตัวเองและกลวิธีพหุปัญญาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ในทางตรงกัน ข้าม ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความรู้คําศัพท์และกลวิธีการเรียนรู้คําศัพท์ในนักศึกษาบัญชี เพื่อ เพิ่มระดับความรู้คําศัพท์ของนักศึกษา ครูควรแนะนําให้นักศึกษาใช้กลยุทธ์การเรียนรู้คําศัพท์ที่ หลากหลาย
Description: Thesis (M.A., Teaching English as an International Language)--Prince of Songkla University, 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12438
Appears in Collections:890 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426731.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.