Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12432
Title: Effect of bedding materials and stocking density on growth performance, carcass characteristics, and contact dermatitis in broiler chickens
Other Titles: ผลของวัสดุรองพื้นและความหนาแน่นต่อการเจริญเติบโต ลักษณะซาก และผิวหนังอักเสบในไก่เนื้อ
Authors: Pradchayaporn Akaboot
Kang Ly
Faculty of Natural Resources (Animal science)
คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาสัตวศาสตร์
Keywords: Broilers (Chickens)
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: Two experiments were conducted to understand the bedding materials and the effects of oil palm frond stems and rice husks to produces on broiler chicken growth performance, carcass characteristics and contact dermatitis. In the first experiment, bedding materials were used as ratio between rice husks and oil palm frond stems that composed with 100% rice husks (T1), 75 %:25% rice husks and oil palm frond stems (T2), 50 %:50 % rice husks and oil palm frond stems (T3), 25 %:75% rice husks and oil palm frond stems (T4) and 100% oil palm frond stems (T5) to determine by broiler reared. From the studied, bedding materials showed associate function to absorb capacity of bedding quality that did not affected a problem on chicken's health. Nevertheless, the result showed the highest and the lowest body weight were in T4 and T2 (P>0.05), respectively. That may conclude T4 could be used successfully reared on broiler production. The second experiment, composed with 3 bedding materials and 2 stocking densities, 100 % oil palm frond stems, 75 %:25% oil palm frond stems and rice husks and 50 %:50% rice husks and oil palm frond stems were reared with 10 and 15 of broiler chicks/m2. The result showed that no interaction between different bedding materials and stocking density on broiler reared (P>0.05). However, stocking density showed significantly affected on bedding quality and growth performance. Stocking density with 10 chicks/m2 found that moisture content, pH, bulk density, ammonia and incidence on footpad dermatitis were lower than 15 chicks/m2 (P<0.05). At the end of experiment chickens that rearing with stocking density of 10 chicks/m2 had greater average final body weight and also had lower FCR than 15 chicks/m2 (P<0.05). In conclusion, the stocking density of 10 chicks/m2 was suitable on chicken rearing and promoted on growth performance better than 15 chicks/m2.
Abstract(Thai): การศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 การทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้ทางใบปาล์ม น้ํามันสับ และแกลบเป็นวัสดุรองพื้นต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซาก และโรคผิวหนัง อักเสบในไก่เนื้อ ในการทดลองแรกใช้สัดส่วนระหว่างแกลบและทางใบปาล์มน้ํามันสับเป็นวัสดุ รองพื้น โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ แกลบ 100 % (T1) แกลบ 75 % : ทางใบปาล์มน้ํามันสับ 25 % (T2) แกลบ 50 % : ทางใบปาล์มน้ํามันสับ 50 % (T3) แกลบ 25 % : ทางใบปาล์มน้ํามันสับ 75 % (T4) และทางใบปาล์มน้ํามันสับ 100 % (T5) จากการศึกษาพบว่าวัสดุรองพื้นมีความสามารถในการดูด ซับน้ํา โดยไม่มีผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของไก่ อย่างไรก็ตามผลการศึกษาพบว่าไก่มีน้ําหนักตัว สูงสุดและต่ําสุดใน T4 และ T2 ตามลําดับ (P>0.05) จึงอาจสรุปได้ว่าการใช้ T4 เป็นวัสดุรองพื้น สามารถนําไปใช้ในการผลิตไก่เนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทดลองที่ 2 ใช้วัสดุรองพื้น 3 ชนิด และเลี้ยงไก่ด้วย 2 ความหนาแน่น โดยวัสดุรองพื้นประกอบด้วยทางใบปาล์มน้ํามันสับ 100% ทางใบปาล์มน้ํามันสับ 75 % : แกลบ 25 % และทางใบปาล์มน้ํามันสับ 50 % : แกลบ 50 % ส่วนความหนาแน่นของการเลี้ยงไก่เนื้อ คือ 10 และ 15 ตัว/ตารางเมตร ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าไม่ พบปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างวัสดุรองพื้นกับความหนาแน่นของการเลี้ยงไก่เนื้อ (P>0.05) อย่างไรก็ ตามความหนาแน่นของการเลี้ยงไก่เนื้อส่งผลต่อคุณภาพของวัสดุรองพื้น และการเจริญเติบโต โดย การเลี้ยงไก่ด้วยความหนาแน่น 10 ตัว/ตารางเมตร มีผลให้ ความชื้น pH ความหนาแน่นของวัสดุ รองพื้น แอมโมเนีย และการเกิดโรคผิวหนังอักเสบที่เท้าต่ํากว่าการเลี้ยงไก่เนื้อด้วยความหนาแน่น 15 ตัว/ตารางเมตร (P<0.05) เมื่อสิ้นสุดการทดลองไก่ที่เลี้ยงด้วยความหนาแน่น 10 ตัว/ตารางเมตร มีน้ําหนักตัวเฉลี่ยสูงกว่า และมีค่าประสิทธิภาพการใช้อาหารต่ํากว่าการเลี้ยงด้วยความหนาแน่น 15 ตัว/ตารางเมตร (P<0.05) จึงสรุปได้ว่าความหนาแน่น 10 ตัว/ตารางเมตร เหมาะสมต่อการเลี้ยงไก่ และช่วยให้ไก่มีการเจริญเติบโตดีกว่าการเลี้ยงด้วยความหนาแน่น 15 ตัว/ตารางเมตร
Description: Thesis (M.Sc., Animal Science)--Prince of Songkla University, 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12432
Appears in Collections:515 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426787.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.