Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12423
Title: The effect of teacher and peer feedback on english writing development
Other Titles: ผลของการให้ข้อมูลย้อนกลับโดยครูและโดยเพื่อนต่อการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษ
Authors: Thanyapa Palanukulwong
Sarina Kalong
Faculty of Liberal Arts (Languages and Linguistics)
คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์
Keywords: English language Writing Study and teaching;English language Writing Ability testing
Issue Date: 2018
Publisher: Prince of Songkla University
Abstract: This study compared the effect of teacher feedback vis-à-vis peer feedback on English writing development. The participants were 50 Mathayom 4 (Grade 10) students at a private Islamic secondary school, Yala province. The participants were divided into two experimental groups, each consisting of 25 students: the teacher feedback group and the peer feedback group. Research instruments were 1) a pre- and post- writing test, 2) dialogue journal writing, 3) language practice exercises and 4) attitude questionnaires towards dialogue journal writing, teacher feedback and peer feedback. Both groups had to write a dialogue journal once a week for 10 weeks. The journals were exchanged and corrected by the teacher and the designated peers. The findings indicated that peer feedback led to a significant improvement on the participants' overall writing ability and writing fluency, unlike teacher feedback (p < .01). However, neither teacher feedback nor peer feedback helped to improve writing accuracy. The finding also indicated that both subject groups positively viewed the use of dialogue journal and corrective feedback, and they preferred teacher feedback to peer feedback.
Abstract(Thai): การศึกษานี้เปรียบเทียบผลของการให้ข้อมูลย้อนกลับโดยครูกับการให้ข้อมูล ย้อนกลับโดยเพื่อนต่อการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 จํานวน 50 คน ในโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนสอนศาสนาแห่งหนึ่งในจังหวัดยะลา กลุ่ม ตัวอย่างประกอบด้วยกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มๆ ละ 25 คน คือ กลุ่มที่ได้รับการแก้งานเขียนโดยครู และกลุ่มที่ได้รับการแก้งานเขียนโดยเพื่อน เครื่องมือในการวิจัยคือ 1) แบบทดสอบการเขียน ก่อนและหลังการทดลอง 2) การเขียนบันทึกแบบสนทนา (dialogue journal) 3) แบบฝึกทาง ภาษา และ 4) แบบประเมินทัศนคติต่อการเขียนบันทึกแบบสนทนา การให้ข้อมูลย้อนกลับโดยครู และการให้ข้อมูลย้อนกลับโดยเพื่อน กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มต้องเขียนบันทึกแบบสนทนา สัปดาห์ละครั้งเป็นเวลา 10 สัปดาห์ และมีการแลกเปลี่ยนบันทึกแบบสนทนาและแก้งานเขียนโดย ครูและเพื่อน ผลการวิจัยพบว่า การให้ข้อมูลย้อนกลับโดยเพื่อนช่วยพัฒนาความสามารถทางการ เขียนในด้านความสามารถในการเขียนโดยรวมและความคล่องในการเขียนดีกว่าการให้ข้อมูล ย้อนกลับโดยครูอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .01 อย่างไรก็ตามทั้งการให้ข้อมูลย้อนกลับโดยครูและ โดยเพื่อนไม่ช่วยพัฒนาความสามารถในการเขียนด้านความถูกต้องทางไวยากรณ์แต่อย่างใด ผลการวิจัยยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีทัศนคติเชิงบวกต่อการเขียนบันทึกโต้ตอบและการ ให้ผลย้อนกลับเพื่อความถูกต้องทางไวยากรณ์ และทั้งสองกลุ่มชอบการให้ข้อมูลย้อนกลับโดยครู มากกว่าการให้ข้อมูลย้อนกลับโดยเพื่อน
Description: Thesis (M.A., Teaching English as an International Language)--Prince of Songkla University, 2018
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12423
Appears in Collections:890 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
426815.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.